ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บรรดาศักดิ์ไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 63:
ส่วน บรรดาศักดิ์ พระยา นั้น เป็นบรรดาศักดิ์ สำหรับขุนนางระดับสูง หัวหน้ากรมต่างๆ เจ้าเมืองชั้นโท และแม่ทัพสำคัญ ในพระไอยการฯ มีเพียง 33 ตำแหน่ง ดังนั้น จึงมีประเพณี พระราชทานเครื่องยศ (โปรดดูเรื่อง [[เครื่องราชอิสริยยศไทย]]) ประกอบกับบรรดาศักดิ์ด้วย โดย พระยาที่มีศักดินามากกว่า 5,000 จะได้รับพระราชทานพานทอง ประกอบเป็นเครื่องยศ จึงเรียกกันว่า '''พระยาพานทอง''' ซึ่งถือเป็นขุนนางระดับสูง ส่วนพระยาที่มีศักดินาต่ำกว่านี้ จะไม่ได้รับพระราชทานพานทอง
 
ในเรื่องนี้ จึงมีประเด็นความเชื่อ โดยบุตรขุนนางที่เกิดใหม่ บิดามักเอาพานทองไปรองรับทารกที่เกิดใหม่นั้น พร้อมอธิษฐานว่า ขอให้บุตรของตนมีวาสนาได้เป็นพระยาพานทองในอนาคต หากเทียบกับปัจจุบัน พระยาพานทอง คงเทียบได้กับข้าราชการ ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษหรือ ทหารชั้นยศนายพล ตำแหน่ง เจ้ากรมทหาร เพราะในปัจจุบันการมอบตำแหน่งพระยาพานทองคือผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ [[ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ|ทุติยจุลจอมเกล้า]] และเครื่องราชอิสริยาภรณ์สูงกว่า[[ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษตามลำดับเกียรตินับขึ้นไปนั้น เป็นต้น]]
 
== ขุนนางที่มีศักดินา 10,000 ==