ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 11:
 
=== การค้นพบ ===
[[ไฟล์:Galileo.arp.300pix.jpg|thumb|left|upright|[[กาลิเลโอ กาลิเลอี]] ผู้คนพบดวงจันทร์ของกาลิเลโอทั้งสี่ดวง]]
ผลจากการปรับปรุง[[กล้องโทรทรรศน์]]โดยกาลิเลโอ ([[กาลิเลโอ กาลิเลอี]]) โดยการเพิ่มกำลังขยายขึ้นเป็น 20 เท่า<ref>{{Cite journal|first=Albert|last=Van Helden|title=The Telescope in the Seventeenth Century|journal=Isis|volume=65|issue=1|date=March 1974|pages=38–58|publisher=The University of Chicago Press on behalf of The History of Science Society|jstor=228880|doi=10.1086/351216}}</ref> เขาสามารถมองเห็นเทหฟากฟ้าได้ชัดเจนกว่าที่เคยเห็นโดยกล้องโทรทรรศน์เดิม ทำให้กาลิเลโอค้นพบดาวจันทร์ของกาลิเลโอได้ในช่วงราวเดือนธันวาคม พ.ศ. 2152 ถึง เดือนมกราคม พ.ศ. 2153<ref name=Galileo89>Galilei, Galileo, ''Sidereus Nuncius''. Translated and prefaced by Albert Van Helden. Chicago & London: University of Chicago Press 1989, 14–16</ref><ref>{{Cite book|title=The Starry Messenger|last=Galilei|first=Galileo|year=1610|location=Venice|url=http://www.bard.edu/admission/forms/pdfs/galileo.pdf|quote=On the seventh day of January in this present year 1610....|isbn=0-374-37191-1}}</ref>
 
เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2153 กาลิเลโอได้เขียนจดหมายซึ่งกล่าวถึงดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรก ซึ่งในขณะนั้นเขามองเห็นเพียงสามดวง และเขาเชื่อว่าดวงจันทร์เหล่านั้นมีตำแหน่งที่อยู่คงที่ใกล้กับดาวพฤหัสบดี เขายังได้สังเกตวงโคจรของดวงจันทร์ทั้งสาม ในระหว่างวันที่ 8 มกราคม ถึง 2 มีนาคม พ.ศ. 2153 ในระหว่างที่เฝ้าสังเกตดวงจันทร์ทั้งสามอยู่นั้น เขาก็ได้ค้นพบดวงจันทร์ดวงที่สี่และจากการสังเกตเขาได้ค้นพบว่าดวงจันทร์ทั้งสี่ไม่ได้อยู่คงที่แต่มันได้โคจรไปรอบๆดาวพฤหัสบดี<ref name=Galileo89/>
 
การค้นพบของกาลิเลโอได้พิสูจน์ถึงความสำคัญของกล้องโทรทรรศน์ในฐานะเครื่องมือของนักดาราศาสตร์ว่ายังมีเทหวัตถุในอวกาศที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่ารอการค้นพบอยู่ ที่สำคัญยิ่งกว่านั้นการค้นพบว่ามีเทหฟากฟ้าที่โคจรรอบสิ่งอื่นนอกจากโลกได้สั่นคลอนอย่างรุนแรงต่ออระบบโลกของปโตเลมี ([[ระบบโลกเป็นศูนย์กลาง|Ptolemaic world system]]) ที่ได้รับการยอมรับกันในขณะนั้นซึ่งเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาลและเทหฟากฟ้าอื่นๆทั้งหมดจะโคจรรอบโลก<ref>{{Cite web|url= http://galileo.rice.edu/sci/observations/jupiter_satellites.html|title=Satellites of Jupiter|accessdate=9 August 2007|work=The Galileo Project|publisher=[[มหาวิทยาลัยไรซ์]]|year=1995}}</ref> บทความของกาลิเลโอ ''Sidereus Nuncius'' (''Starry Messenger'') ซึ่งประกาศถึงการเฝ้าสังเกตฟากฟ้าผ่านกล้องโทรทรรศน์ของเขานั้นไม่ได้กล่าวยอมรับทฤษฎี [[Copernican heliocentrismระบบดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง]] ซึ่งเชื่อว่า[[ดวงอาทิตย์]]เป็นศูนย์กลางของจักรวาล แต่กาลิเลโอเองก็ยอมรับในทฤษฎี Copernicanโคเปอร์นิคัส<ref name=Galileo89/> ผลจากการค้นพบครั้งนี้ กาลิเลโอสามารถพัฒนาวิธีการกำหนดลองจิจูด ([[ลองจิจูด]]) ของตำแหน่งในวงโคจรของดวงจันทร์ของกาลิเลโอได้<ref>Howse, Derek. ''Greenwich Time and the Discovery of the Longitude''. Oxford: Oxford University Press, 1980, 12.</ref>
 
นักดาราศาสตร์ชาวจีน [[Xi Zezong]] ได้อ้างว่ามีการค้นพบดาวสีแดงขนาดเล็กอยู่ใกล้กับดาวพฤหัสบดีในราว 362 ปีก่อนคริสตกาลโดยนักดาราศาสตร์ชาวจีน[[Gan De]]ซึ่งคาดว่าจะเป็นแกนีมีดซึ่งเป็นเวลาราวสองพันปีก่อนการค้นพบของกาลิเลโอ<ref>Zezong, Xi, "The Discovery of Jupiter's Satellite Made by Gan De 2000 years Before Galileo", ''Chinese Physics'' 2 (3) (1982) : 664–67.</ref>
 
=== อุทิศให้แก่ตระกูลเมดีซี ===
[[ไฟล์:Sidereus Nuncius Medicean Stars.jpg|thumb|right|upright|The Medician stars in the ''Sidereus Nuncius'' (the 'starry messenger'), 1610. The moons are drawn in changing positions.]]
ใน พ.ศ. 2148 กาลิเลโอได้รับการว่าจ้างให้เป็นครูสอนคณิตศาสตร์ให้กับ [[Cosimo II de' Medici, Grand Duke of Tuscany|Cosimoโคสิโม de'เดอ Mediciเมดีชี]] ใน พ.ศ. 2152 คอสิโมได้รับการแต่งตั้งเป็น [[ดยุคคาสิโมที่สองแห่งทุสคานี (Grand Duke Cosimo II of [[แคว้นทัสกานี]]). กาลิเลโอได้รับการอุปถัมภ์จากลูกศิษย์ที่มั่งคั่งและครอบครัวที่ทรงอิทธิพลในการค้นพบดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี<ref name=Galileo89/> ในวันที่ 13 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2153 กาลิเลโอได้เขียนจดหมายถึงเลขานุการของดยุค ความว่า:
 
<blockquote>God graced me with being able, through such a singular sign, to reveal to my Lord my devotion and the desire I have that his glorious name live as equal among the stars, and since it is up to me, the first discoverer, to name these new planets, I wish, in imitation of the great sages who placed the most excellent heroes of that age among the stars, to inscribe these with the name of the Most Serene Grand Duke.<ref name=Galileo89/></blockquote>
บรรทัด 28:
พระเจ้าทรงให้โอกาสฉันแสดงความจงรักภักดีต่อท่านและความปรารถนาของฉันที่ต้องการให้ชื่อของท่านอยู่เสมอดวงดาว ฉันในฐานะผู้ค้นพบคนแรกมีสิทธิ์ที่จะตั้งชื่อดวงดาวเหล่านี้ ฉันปรารถนาที่จะทำตามนักปราชญ์ผู้ยิ่งใหญ่ซึ่งตั้งชื่อวีรบุรุษที่ยอดเยี่ยมของยุคในหมู่ดวงดาว โดยการตั้งชื่อดาวเหล่านี้ตามดยุคผู้สูงศักดิ์
 
กาลิเลโอสอบถามว่าเขาควรจะตั้งชื่อดวงจันทร์นี้ว่า "Cosmian Stars" ตามชื่อของคอสิโม หรือควรจะตั้งชื่อว่า "Medician Stars" เพื่อเป็นเกียรติแก่พี่น้องทั้งสี่ของตระกูลเมดีซี เลขานุการตอบกลับว่าเขาเห็นว่าชื่อหลังเหมาะสมที่สุด<ref name="Galileo89" />
 
ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2153 กาลิเลโอได้เขียนจดหมายอุทิศให้แก่ดยุคแห่งทุสคานีและได้ส่งสำเนาให้ดยุคในวันต่อมาโดยหวังว่าจะได้รับการสนับสนุนจากดยุคโดยเร็วที่สุด ในวันที่ 19 มีนาคม เขาได้ส่งกล้องโทรทรรศน์ของเขาที่ใช้ในการส่องดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดีเป็นครั้งแรกให้แก่ดยุคพร้อมด้วยสำเนาอย่างถูกต้องของ ''Sidereus Nuncius'' (''The Starry Messenger'') ซึ่งแสดงว่าเขาได้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเลขานุการโดยการตั้งชื่อดวงจันทร์ทั้งสี่ดวงว่า Medician Stars.<ref name=Galileo89/> กาลิเลโอเขียนอารัมภบทว่า:
 
<blockquote>