ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเฉื่อย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
แทนที่เนื้อหาด้วย "ตะแวัยเยีบันวย"
ป้ายระบุ: ถูกแทน แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
ตะแวัยเยีบันวย
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ความเฉื่อย''' ({{lang-en|inertia}}) ในทาง[[ฟิสิกส์]] หมายถึง การต้านการเปลี่ยนแปลงสภาพ[[การเคลื่อนที่]]ของวัตถุใด ๆ หลักการของความเฉื่อยเป็นหนึ่งในหลักการพื้นฐานของ[[ฟิสิกส์ดั้งเดิม]] ซึ่งนำมาอธิบายการเคลื่อนที่ของ[[สสาร]]และผลกระทบที่สสารนั้นได้รับจาก[[แรง]]ที่มากระทำ คำว่า inertia มาจาก[[ภาษาละติน]] ''iners'' หมายถึง เฉื่อยชาหรือขี้
 
กฎของความเฉื่อยอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า[[กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน|กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน]] กฎดังกล่าวระบุว่า วัตถุที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ กล่าวคือ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว (อัตราเร็วเท่าเดิมและทิศทางเหมือนเดิม) จนกว่าจะมีแรงบางอย่างมากระทำต่อวัตถุอันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วและทิศทาง นี่รวมไปถึงวัตถุที่ยังไม่เคลื่อนที่ด้วย (คือมีความเร็วเท่ากับศูนย์) ก็จะหยุดนิ่งอยู่กับที่จนกว่าจะมีแรงบางอย่างมากระทำต่อวัตถุให้เคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น เมื่อรถยนต์จอดนิ่งไม่เคลื่อนที่ ความเฉื่อยของรถยนต์ต้องมากกว่าแรงที่กระทำต่อรถยนต์เพื่อที่จะให้รถยนต์เคลื่อนที่ เมื่อรถยนต์กำลังเคลื่อนที่ จะต้องเพิ่มแรงกระทำกับรถยนต์มากขึ้น เพื่อให้รถยนต์เคลื่อนที่เร็วมากขึ้น และเมื่อต้องการชะลออัตราเร็วของรถยนต์ แรงเบรกจะต้องมากกว่าความเฉื่อยของรถยนต์
 
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์]]
{{โครงฟิสิกส์}}