ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
..
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 7355992 โดย BotKung: ก่อกวนด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 3:
| image = Patong Rubble.jpg
| imagecaption = ความเสียหายที่[[หาดป่าตอง]] [[จังหวัดภูเก็ต]] หลังคลื่นสึนามิพัดถล่ม
| date = [[26 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2547]](13ปี)
| origintime = 00:58:50 [[เวลาสากลเชิงพิกัด|UTC]] <br /> (07:58:50 [[UTC+7|เวลาท้องถิ่น]])
| map =
บรรทัด 32:
'''แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547''' เป็น[[แผ่นดินไหว]]ใต้ทะเล เกิดขึ้นเมื่อเวลา 07.58 น. ตาม[[UTC+7|เวลาในประเทศไทย]] (00:58 [[เวลาสากลเชิงพิกัด|UTC]]) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปใน[[มหาสมุทรอินเดีย]] ใกล้ด้านตะวันตกของตอนเหนือ[[เกาะสุมาตรา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว ทำให้เกิดความเสียหายบนเกาะสุมาตรา และยังรับรู้ได้ในภาคใต้ของประเทศไทย
 
แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกใต้[[มหาสมุทรอินเดีย]] กระตุ้นให้เกิด[[คลื่นสึนามิ]]สูงราว 30 เมตร<ref name=Paulson>Paulson, Tom. "[http://web.archive.org/20101205010745/www.seattlepi.com/local/211012_tsunamiscience07.html New findings super-size our tsunami threat]." ''Seattlepi.com.'' February 7, 2005.</ref> เข้าท่วมทำลายบ้านเรือนตามแนวชายฝั่งโดยรอบ[[มหาสมุทรอินเดีย]] ประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทศมากกว่า 230,000 - 280,000 คนหรือมากกว่า 280,000 คน นับเป็นหนึ่งในภัยพิบัติทางธรรมชาติครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ [[ประเทศอินโดนีเซีย]] รองลงมาคือ[[ประเทศศรีลังกา]] [[ประเทศอินเดีย]] และ[[ประเทศไทย]] ตามลำดับ
 
ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่าง[[แมกนิจูด]] 9.1 ถึง 9.3 ตามมาตราโมเมนต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องวัดแผ่นดินไหว (Seismometer) นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคาบเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3 ถึง 10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร <ref>Walton, Marsha. "[http://edition.cnn.com/2005/TECH/science/05/19/sumatra.quake/index.html Scientists: Sumatra quake longest ever recorded]." ''[[CNN]].'' May 20, 2005</ref> และยังเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่น ๆ ของโลกอีกด้วย <ref>West, Michael; Sanches, John J.; McNutt, Stephen R. "[http://www.sciencemag.org/cgi/content/abstract/308/5725/1144 Periodically Triggered Seismicity at Mount Wrangell, Alaska, After the Sumatra Earthquake]." ''[[Science Magazine|Science]].'' Vol. 308, No. 5725, 1144–1146. May 20, 2005.</ref>
บรรทัด 49:
แผ่นดินไหวใหญ่ครั้งนี้เกิดขึ้นใน[[เขตมุดตัวของเปลือกโลก]] ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิด[[แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์|แผ่นดินไหวขนาดเมกะทรัสต์]]อยู่เสมอ มีค่า[[โมเมนต์แผ่นดินไหว]]สูงในระดับศตวรรษ โดยหากรวมค่าโมเมนต์แผ่นดินไหวทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรอบ 100 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1906 จนถึง 2005 แผ่นดินไหวที่อินโดนีเซียครั้งนี้จะมีขนาดโมเมนต์แผ่นดินไหวถึง 1 ใน 8 ของแผ่นดินไหวทั้งหมดดังกล่าว นอกจากนี้ หากรวมกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่[[แผ่นดินไหวในอะแลสกา ค.ศ. 1964|อะแลสกา ค.ศ. 1964]] และที่[[แผ่นดินไหวในชิลี ค.ศ. 1960|ชิลี ค.ศ. 1960]] จะมีขนาดโมเมนต์สูงถึงครึ่งหนึ่งของแผ่นดินไหวทั้งหมดดังกล่าว หากเทียบกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นใน[[แผ่นดินไหวในซานฟรานซิสโก ค.ศง 1906|ซานฟรานซิสโกปี ค.ศ. 1906]] กับแผ่นดินไหวครั้งนี้ ถือว่าครั้งนั้นมีขนาดเล็กมาก (หากแต่ครั้งนั้นเกิดความเสียหายไม่แพ้กัน)
 
นับตั้งแต่ ค.ศ. 1900 แผ่นดินไหวในครั้งนี้ถือว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจาก[[แผ่นดินไหวในชิลี ค.ศ. 1960]] (แมกนิจูด 9.5) และ[[แผ่นดินไหวในอะแลสกา ค.ศ. 1964]] (แมกนิจูด 9.2) นอกจากนี้มีอีกเพียงสองครั้งที่มีขนาดแมกนิจูด 9.0 ได้แก่ แผ่นดินไหวที่คาบสมุทรคัมชัตคา ทางตะวันออกของรัสเซีย(9.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] )เมื่อ ค.ศ. 1952<ref>"[http://web.archive.org/web/20071012210253/http://neic.usgs.gov/neis/eq_depot/world/1952_11_04.html Kamchatka Earthquake, 4 November 1952]." ''[[United States Geological Survey]].''</ref> และ[[แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554|แผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่น ค.ศ. 2011]](9.0-9.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]) เหตุการณ์แผ่นดินไหวดังกล่าวล้วนก่อให้เกิด[[คลื่นสึนามิ]]ในบริเวณ[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]แทบทั้งสิ้น ถึงกระนั้นกลับมีจำนวนผู้เสียชีวิตไม่มากอย่างมีนัยสำคัญ โดยสาเหตุหลักคือ ชายฝั่งใกล้ศูนย์กลางแผ่นดินไหวมีประชากรอาศัยเบาบาง พื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นอยู่ห่างไกลจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวเหล่านั้นมาก รวมถึงความมีประสิทธิภาพของระบบสาธารณูปโภคและระบบเตือนภัย เช่น ในกรณีของ[[ประเทศญี่ปุ่น]] เป็นต้น
 
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (ขนาด[[แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์|เมกะทรัสต์]]) ครั้งอื่น เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1868 ใน[[ประเทศเปรู]] (แผ่นเปลือกโลกนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1827 ใน[[โคลอมเบีย]] (แผ่นนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1812 ใน[[เวเนซูเอลา]] (แผ่นแคริบเบียนและแผ่นอเมริกาใต้) และแผ่นดินไหวคาสคาเดีย ค.ศ. 1700 ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอเมริกา (แผ่นฮวนเดอฟูกาและ[[แผ่นอเมริกาเหนือ]]) ทั้งหมดที่กล่าวมานี้คาดว่ามีความรุนแรงมากกว่าแมกนิจูด 9 แต่ไม่มีตัวเลขชัดเจนถึงขนาดที่แท้จริงในขณะนั้น
 
การเกิดแผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดจากแผ่นเปลือกโลก อินโดออสเตรียมุด(บางครั้งเป็นแผ่นเปลือกโลกอินเดีย)ใต้แผ่นยูเรเชีย(บางครั้งแยกออกมาเป็นแผ่นเปลือกโลกพม่า) ซึ่งแผ่นอินโดออสเตีรยมีการเคลื่อน(มุดตัวเพราะมีมวลมากกว่าแผ่นพม่า(แผ่นยูเรเชีย)เข้าไปในแผ่นยูเรเชียทำให้เกิดแนวปะทะยาว(เขตมุดตัว)ตั้งแต่หมู่เกาะนิโคบาร์(อินเดีย)ยาวลงไปถึงเกาะสุมาตรา(อินโดนีเซีย) แผ่นดินไหวครั้งนี้เป็นแผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่และรุนแรงมาก โดยจุดศูนย์กลางอยู่ใกล้กับ(เขตมุดตัวแผ่นเปลือกโลก)เกาะสุมาตรา(อินโดนีเซีย)เมือง[[บันดาอาเจะฮ์]] ขนาด9.1-9.3 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] (lX) และสร้างรอยแตกขึ้นไปถึงหมูเกาะนิโคบาร์ และประเทศพม่า มีขนาดการทำลายร้าง1,400-1,600 ก.ม.จากจุดศูนย์กลาง กินเวลา8.3-10นาทีเป็นแผ่นดินไหวที่มีเวลามากที่สุด เมื่อมีมันขนาดถึง9.1-9.3 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] และเกิดตรงแนวมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกทำให้แผ่นเปลือกโลกยุบตัวออกมา (ถ้าสังเกต แนวปะทะของรอยต่อแผ่นเปลือกโลกไม่เท่ากันโดยแผ่นดินไหวเมื่อปี2547 แผ่นเปลือกโลกยูเรเชียขยับออกมาเป็นระยะทางกว่า1,000ก.ม.) การที่เปลือกโลกขนาดใหญ่ขยับออกมา หรือยกตัว จะแทนที่นำหลายพันล้านตันในมหาสมุทรที่ลึกเป็นพันๆกิโลเมตร และทำให้เกิดเป็นคลื่น กระจายตัวออกไป ส่วนความรุนแรงของสึนามิสุนามินั้นขึ้นอยู่กับการขยับของแผ่นเปลือกโลกด้วย เช่น แผ่นดินไหวครั้งนี้รอยแตกยาวเป็น1,0001000 กิโลเมตรยาวขึ้นไปถึง หมูเกาะนิโบาร์ แต่จุดที่ได้รับผลสึนามิที่หนักนั้น จะอยู่บริเวณ อินโดนีเซีย ไทย ศรีลังกา อินเดีย สาเหตุเพราะ ในบริเวณนี้เป็นบริเวณที่ใกล้กับจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหวขนาด9.1-9.3 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]](หรือการขยับยุบตัวของแผ่นเปลือกโลกออกมาที่สุดในบริเวณนี่)มากที่สุดในบริเวณนี้แผ่นเปลือกโลกขยับออกมามาก ซึ่งก่อให้เกิดสึนามิ ซึ่งการที่แผ่นยูเชีย(แผ่นพม่า)ที่ถูกแผ่นอินโดออสเตรียมุดลงไปด้านล้างนั้นทำให้เกิดแรงบีบอัดอย่างมหาศาลโดยแผ่นอินโดนีเชียเคลื่อนมุดเข้าแผ่นยูเรเชียตลอด ทำไห้สะสมพลังงานมายาวนานอาจถึง100-1,000ปีซึ่งช้ามาก (ซึงการที่แผ่นเปลือกโลกอินโดออสเตรียหรือแผ่นอินเดียมุดลงไปใต้แผ่นพม่าหรือแผ่นยูเรเชีย จะทำไห้แผ่นที่มุดตัวลงไปนั้น(แผ่นอินโดออสเตรียหรือแผ่นอินเดียเคลื่อนที่มุดตัว และ ดึงขอบแผ่นเปลือกโลกที่ถูดมุดคือแผ่นยูเรเซียหรือแผ่นพม่า ลงไปตามการเคลื่อนที่ของแผ่นที่มุดตัวทำไห้ขอบแผ่นเปลือกโลกที่ถูกมุดตัวนั้น ค่อยๆงอตามลงไปตามแรงดึงของแผ่นที่มุดทำไห้เกิดพื้นดินบริเวณขอบแผ่นเปลือกโลกที่ถูกมุดนั้นโก่งตัวขึ้นเลื่อยๆอย่างช้าๆจนขอบแผ่นเปลือกโลกที่ถูกมุดตัวนั้นงอตัวลงไปตามแรงดึงของแผ่นที่มุดตัวลงไปไม่ไหวจึงยุบตัวออกมาหรือยกตัวขึ้นทำไห้พื้นที่ขอบแผ่นเปลือกโลกพม่าหรือแผ่นยูเรเชียนั้นมีเนื้อที่เพิ่มขึ้นหลังเกิดแผ่นดินไหวและพื้นที่เพิ่มขึ้นมาอย่างฉับพลั้นนั้นเป็นตัวไปแทนที่นำ้ในมหาสมุทรทำไห้เกิดสึนามิขึ้นมา)และปล่อยพลังงานออกมาในรูปแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ และมีสึนามิตามมาบ่อยครั้ง แต่ครั้งนี้แปลกมากที่สึนามิมีความรุนแรงมากถึงขนาดฆ่าคน280,000คน ประเทศรอบมหาสมุทรอินเดียหนักสุดคือ อินโดนีเซียโดยเฉพาะเมืองบันดาอาเจะฮ์ได้รับผลกระทบมากที่สุด(สึนามิสูง30-35เมตร) และสึนามิยังเดินทางมายังไทยและอีกฝั่งเดินทางไปหาศรีลังกา อินเดีย มัลดีฟ ทวีปแอฟริกา ซึ่งสึนามิที่เกิดจากแผ่นไหวมีอัตตราการเคลื่อนที่ที่เร็วมากประมาณ600-800 ก.ม./ช.ม. และสึนามิส่วนหนึ่งยังเดินทางข้ามมหาสมุทรอื่นผ่านประเทศแอฟริกาใต้
 
ข้อสังเกตแผ่นดินไหวที่สามารถก่อให้เกิดสึนามิและการทำลายล้างสูง ส่วนมากมักจะเกิดอยู่ในมหาสมุทรและมีขนาดใหญ่ถึง8.0-9.0+ [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]และชอบเกิดอยู่บริเวณแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลกและมักเกิดไม่ลึกมาก ซึ่งตรงกับแผ่นดินไหวที่ประเทศชีลี9.4- 9.6 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]](แผ่นนาสคามุดใต้แผ่นอเมริกาใต้) แผ่นดินไหวที่ประเทศสหรัฐขนาด9.2 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] (แผ่นแปปซิฟิกมุดใต้แผ่นอเมริกาเหนือ แผ่นดินไหวที่ประเทศอินโดนีเซียขนาด 9.1-9.3 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]](แผ่นอินโดออสเตรียมุดใต้แผ่นยูเรเชีย) แผ่นดินไหวที่ประเทศญี่ปุ่นขนาด9.0-9.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]](แผ่นแปซิฟิกมุดใต้แผ่น อเมริกาเหนือ) แผ่นดินไหวที่ประเทศรัสเซียขนาด9.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]](แผ่นแปซิฟิกมุดใต้แผ่นอเมริกาเหนือ) ซึ่งแผ่นดินไหวที่กล่าวข้างต้น ก่อให้เกิดสึนามิทั้งสิ้น และทุกครั้งที่เกิดแผ่นดินไหวขนาด9.0+[[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] จะสร้างความเสียหายระดับสูงทั้งนั้นเช่น ญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และแผ่นดินไหวเมื่อปี2547
 
แผ่นดินไหวขนาด8.7[[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]เมื่อปี2555 ที่มหาสมุทรอินเดียจุดศุนย์กลางใกล้กับเกาสุมาตราที่เป็นที่ตกตื่นกันในบริเวณเสี่ยงภัยซึ่งอาจซํ้ารอยแผ่นดินไหวเมื่อปีพ.ศ. 2547 ต่อมาพบว่าเกิดสึนามิขนาดเล็กข้อสังเกตคือว่า จริงอยู่ว่าแผ่นดินไหวนี้มีขนาดใหญ่8.7 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]ซึ่งก่อให้เกิดสึนามิขนาดใหญ่ได้ แต่แผ่นดินไหวครั้งนี้ไม่เกิดบริเวณแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลก ซึ่งไม่ได้หมายความว่าจะไม่เกิดสึนามิ แต่โอกาศจะเกิดสึนามิขนาดใหญ่เท่าเมื่อปี2547มีโอกาศน้อยมาก เพราะรอยเลื่อนเคลื่อนที่ผ่านกัน นั้นมีการเคลื่อนที่ในแนวระนาบซึ่งแทนที่น้ำได้น้อย เช่น แผ่นดินไหวเมื่อปี2547และแผ่นดินไหวของญี่ปุ่นปี2554 เกิดบนแนวรอยต่อแผ่นเปลือกโลก2แผ่นและขนาดแผ่นดินมีขนาด9.0แมกนิจูด ทำให้เกิดสึนามิที่มีขนาดใหญ่
 
แผ่นดินไหวขนาด9.0แมกนิจูดขึ้นไป มีสาเหตุมาจากอะไร และทำไมถึงเกิดสึนามิขนาดใหญ่ตามมา
 
แผ่นดินไหวขนาด9.0+แมกนิจูดขึ้นไปมีอยุ่ประมาณ5ครั้ง(ของโลก)ที่เครื่องวัดแผ่นดินไหวสามารถวัดได้ 1.แผ่นดินไหวที่ประเทศชิลี 9.5 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] 2.แผ่นดินไหว สหรัฐฯ 9.2 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] 3.แผ่นดินไหวที่อินโดนีเซีย(มหาสมุทรอินเดีย) 9.1-9.3 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]แมกนูจูด ส่วนมากนิยม(9.2[[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]) 4.แผ่นดินไหวญี่ปุ่น ขนาด9.0-9.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] 5.แผ่นดินไหวรัสเซีย 9.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] แผ่นดินไหวที่กล่าวมา ข้างต้นเป็นแผ่นดินไหวที่เกิดไม่บ่อย มาก แต่มีโอกาศเกิดอยู่ตลอด เป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาก ปล่อยพลังออกมามาก ทำให้ท้องทะเลสั่นสะเทื่อน แผ่นดินไหวทั้งหมดนี้ เกิดจาก1.รอยเลื่อนที่ประเทสไทย นิยมเรียกว่า ย้อนมุมตํ่า กล่าวคือแผ่นเปลือกโลกหนึ่งจะยกตัวขึ้นกระทันหันหลังเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งจะยกนํ้าขึ้นมาเป็นสึนามินั่นเอง แต่ในสากล นิยมเรียกว่า เขตมุดตัวของแผ่นเปลือก กล่าวคือ ลองคิดดูว่า แผ่นเปลือกโลกหนึ่ง ถูกอีกแผ่นหนึ่ง มุดลงข้างด้านล่างและแผ่นที่มุดลงด้านล่างก็ดึงแผ่นที่ถูกมุดลงมาด้วยอย่างช้าๆ และเมื่อแผ่นที่ถูกดึง มีความเครียดสูง ก็จะดีดตัวกลัว และดันนํ้าทะเลขึ้นมาด้วย ซึ่ง บนพื้นดินก็สามารถพบได้ รอยเลื่อนประเภทนี้อันตรายมากเพราะมันมี่พลังงานมาก เช่น การเกิด ของเทือกเขาหิมาลัย ก็เกิดจากแผ่นดินมุดตัว โดยแผ่นดินอินเดีย มุดลงด้านล่าง แผ่นยูเรเชีย จุดเกิดการบีบอัด สร้างเทือกเขาสูงขึ้นมา และสร้างแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาก เคย ทำแผ่นดินไหว 8.6 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] มาแล้ว เพราะฉะนั้นมันจะอันตรายมาก ถ้ารอยเลื่อนประเภทนี้อยู่บนพื้นดิน และถ้ามันไปอยู่แถบชนบทที่มีคนอยู่จำนวนมาก 2.ความลึก ก็เป็นสิ่งที่สำคัญมากในการจะดูว่าแผ่นดินไหวครั้งนี้จะมีแรงสั่นสะเทือนมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความลึกด้วย เช่นแผ่นดินไหว ครั้งหนึ่ง ขนาด7.5 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] เกิดบนพื้นดิน ลึกจากผิดโลก 10 กิโลเมตร อันนี้จะสร้างความเสียหายที่รุนแรงมาก ถ้าเทียบกับมาตราเมอร์คัลลี่ จะอยู่ประมาณ X-Xl เลยที่เดียว ซึ่งสามารถอ้างได้จากแผ่นดินไหวที่ประเทศเฮติ ที่ฆ่าคนนับ 200,000 คน เลยที่เดียว มันมีขนาด7.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] ซึ่งอยู่ในขั้นที่แรง แต่มาตราเมอร์คัลลี่มัน เท่ากับX ซึ่งรุนแรงมาก มาตราเมอร์คัลลีของมันมากกว่า แผ่นดินไหว ขนาด9.1-9.3 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] ของอินโดนีเซีย กับแผ่นดินไหว 9.0-9.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] ของญี่ปุ่นที่มีมาตราเมอร์คัลลี่ lX ข้อสังเกตคือว่าแผ่นดินไหว ของเฮตินั้น เกิดบนประเทศ และหมู่บ้าน และตื้นมากจากพื้นผิว แรงแผ่นดินไหวเขาเลยได้รับขนาด7.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]เต็มๆอยู่แล้ว แต่แผ่นดินไหวอินโดนีเซีย กับ ญี่ปุ่นเกิดนอกชายฝั่งห่างจากประทศไปไกล หลายร้อยกิโลเมตร ซึ่งมีผลอย่างมากต่อแรงแผ่นดินไหวที่จะกระจายเข้ามาสู่ประเทศ ทำไห้แรงแผ่นดินไหวที่เข้ามาในประเทศลดลง เหลือประมาณ ขนาดแรงแผ่นดินไหว 7.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]ของญี่ปุ่น มีจังหวัดหนึ่งได้รับแรงแผ่นดินไหวครั้งนี้ 7.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] ไม่ใช่9.0แมกนิจูด [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]ตามที่คนพูดกัน ซึ่งแรงแผ่นดินไหวขนาด 7.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]แมกนจูด ตึกของประเทศญี่ปุ่นสามารถ ต้านทานและทนได้อยู่แล้ว แต่ประเทศญี่ปุ่นจะกลัว กับสึนามิเสียมากกว่าแรงแผ่นดินไหวสะอีกเพราะ สึนามินั้น มีพลังมากและมีการทำลายล้างสูงมาก เมื่อในปี 2011 ของญี่ปุ่นที่สึนามิสารมาถโจมตี ที่กั้นสึนามิของญี่ปุ่นได้ง่ายดาย ด้วยความสูง 40.5 เมตร ทำให้โรงงานนิวเคลียระเบิด เป็นต้น 3.ขนาดของแผ่นดินไหวก็สำคัญมากเช่นกัน ขนาดของแผ่นดินไหว สามารถบอกได้ว่าแผ่นดินไหวครั้งนี้จะเกิดสึนามิได้ ถ้ามีขนาด มากกว่า 7.5[[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]ขึ้นไป แต่ในความเป็นจริงแล้ว 7.5 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]นั้นส่วนมากสึนามิจะไม่ค่อยแรงเท่าไหร่ ส่วนมากที่แรงมากๆจะอยู่ที่ขนาด 8.5-9.0+ [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] แต่ถึงอย่างไรขนาดของแผ่นดินไหว ก็ไม่สามารถ การันตีได้ว่าจะเกิดหรือไม่เกิดสึนามิ เพราะมันสามารถ เพิ่มขึ้นและลดลงได้ เช่นแผ่นดินไหว ขนาด 9.0-9.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]ของญี่ปุ่น รู้หรือไม่ว่าแท้ที่จริงแล้วตอนแรกมันไม่ได้มีขนาดเท่านี้เลย ในตอนแรกของการเกิดแผ่นดินไหว ใหญ่ครั้งนี้ ขนาดมันอยู่ที 7.0+ 8.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] และตอนหลังมาปรับเพิ่มเป็น8.8 แมกนิจูก และหลังเกิดสึนามิไปแล้วปรับเป็น 8.9 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]และ 9.0 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] และปัจุบัน ก็เพิ่มขึ้นเป็น 9.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] เพราะ ฉะนั้นทำไห้รู้ว่าการเตือนภัย สึนามิเป็นเรื่องที่อ่อนไหวมาก บ้างครั้งอาจจะเกิดมันก็ไม่เกิด อันที่ไม่น่าจะเกิดก็กลับเกิด เพราะฉะนั้น บริเวณที่เสี่ยงภัย ของไทยคือ บริเวณภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามันนั้นมีโอกาศเกิดสึนามิมาก นอกชายฝั่งออกไปนั้น จะเป็นรอยต่อแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่(แผ่นอินโดออสเตรียกับแผ่นยูเรเซีย) และยังมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา พื้นที่บริเวณนี้ควารมีการระวังภัยตลอดเวลา ถ้าพบเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่และอยู่บริเวณรอยต่อแผ่นเปลือกโลก ควรฟังการเตือนภัยอย่างเข้มงวด และปฏิบัติตาม ด้วย โดยรวมแผ่นดินไหวขนาด9.0+ [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]ขึ้นไป ส่วนมากสิ่งที่น่ากลัวของพวกมันคือสึนามิ ส่วนรองลงมาคือแรงแผ่นดินไหว นั้นเอง
 
ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าแผ่นดินไหวครั้งนี้มีพลังงานที่ใกล้เคียงกับแผ่นดินไหวปี2011 ของญี่ปุ่น แต่แผ่นดินไหว2547 นั้นมีค่าเฉลี่ยของขนาดแผ่นดินไหวที่มากกว่า คือ9.1-9.3 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]] แต่เแผ่นดินไหวของประเทศญี่ปุ่นนั้น มีขนาดเฉลี่ยที่ 9.0-9.1 [[แมกนิจูด|M<sub>w</sub>]]
 
[[ไฟล์:2004 Indonesia Tsunami Complete.gif|300px|framed|ภาพเคลื่อนไหวของคลื่นสึนามิสุมาตรา (ที่มา: [[องค์การสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา]]]]
เส้น 205 ⟶ 203:
* ชายทะเลเขาหลักในอุทยานแห่งชาติเขาหลัก ลำรู่ ตำบลคึกคัก [[อำเภอตะกั่วป่า]] จังหวัดพังงา (เป็นจุดที่นักท่องเที่ยวเสียชีวิตและบาดเจ็บมากที่สุด)
* เกาะสิมิลัน อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
* หาดราไวย์ ตำบลราไวย์ อำเภอเมืองภูเก็ตเมืองฯ จังหวัดภูเก็ต
* หาดกะรน ตำบลกะรน [[อำเภอเมืองภูเก็ต|อำเภอเมืองฯ]] จังหวัดภูเก็ต
* หาดกมลา ตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
* [[หาดป่าตอง]] ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
* [[เกาะพีพี]] ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่
* บ้านหาดทรายขาว กิ่งอำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง
 
== ในวัฒนธรรมสมัยนิยม ==
เหตุการณ์สึนามิครั้งนี้ได้หยิบยกไปถ่ายทำภาพยนตร์ [[2004 สึนามิ ภูเก็ต]] ([[ภาษาสเปน|สเปน]]: ''Lo Imposible''; [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''The Impossible'') มีเนื้อหาเกี่ยวกับของครอบครัวชาวสเปนที่เดินทางมาพักผ่อนที่[[จังหวัดภูเก็ต]] ฉายเมื่อปี [[พ.ศ. 2555]] <ref>[http://www.bbfc.co.uk/AFF295440 "'THE IMPOSSIBLE' (12A)"]. ''British Board of Film Classification''. October 15, 2012. สืบค้นเมื่อ October 15, 2012.</ref> โดยทำรายได้ประมาณ 180.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>[http://www.boxofficemojo.com/movies/?id=impossible.htm "The Impossible"]. ''[[Box Office Mojo]]''. IMDb. สืบค้นเมื่อ 21 April 2013.</ref>
 
== อ้างอิง ==