ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 117:
ทั้งนี้การเมืองตามแบบฉบับของทรอตสกีแตกต่างไปจากสตาลินและเหมาอย่างสิ้นเชิง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นการประกาศเรียกร้องให้เกิดการปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพในระดับสากล (แทนที่จะเป็นแนวทางสังคมนิยมประเทศเดียว) และการสนับสนุนเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพบนพื้นฐานหลักการประชาธิปไตยโดยแท้จริง
 
=== ลัทธิมากซ์เสรีมากซ์แบบอิสรนิยม ===
ลัทธิมากซ์แบบอิสรนิยมคือกรอบปรัชญาทางเศรษฐกิจและการเมืองกว้าง ๆ ที่เน้นการต่อต้านแง่มุม[[ลัทธิอำนาจนิยม|อำนาจนิยม]]ภายใน[[ลัทธิมากซ์]] ซึ่งในช่วงต้นรู้จักกันในชื่อ ''คอมมิวนิสต์ฝ่ายซ้าย''<ref>Pierce, Wayne.[http://www.utopianmag.com/files/in/1000000034/12___WayneLibMarx.pdf Libertarian Marxism's Relation to Anarchism]. "The Utopian". 73–80.</ref> และมีจุดยืนตรงกันข้ามกับลัทธิมากซ์-เลนิน<ref name="Non-Leninist Marxism">{{cite book|title=Non-Leninist Marxism: Writings on the Workers Councils|date=2007|publisher=Red and Black Publishers|isbn=978-0-9791813-6-8|location=St. Petersburg, Florida|page=|pages=|authors=Hermann Gorter, Anton Pannekoek and Sylvia Pankhurst}}</ref> รวมถึงแนวคิดย่อยอื่น ๆ เช่น ลัทธิสตาลิน [[ลัทธิเหมา]] และลัทธิทรอตสกี<ref>Marot, Eric. [http://libcom.org/library/trotsky-left-opposition-rise-stalinism-theory-practice-john-eric-marot "Trotsky, the Left Opposition and the Rise of Stalinism: Theory and Practice"]</ref> นอกจากนี้ยังมีจุดยืนที่เน้นไปทาง[[ลัทธิปฏิรูปนิยม|ปฏิรูปนิยม]]เช่นเดียวกับพวก[[ประชาธิปไตยสังคมนิยม]]<ref>[http://libcom.org/library/social-democracy-1-aufheben-8 The Retreat of Social Democracy&nbsp;... Re-imposition of Work in Britain and the 'Social Europe']. ''Aufheben''. Issue No. 8. 1999.</ref> กระแสลัทธิมากซ์แบบอิสรนิยมมักจะยึดถือผลงานชิ้นหลัง ๆ ของมากซ์และเองเงิลส์ โดยเฉพาะ ''กรุนด์ริสเซอ'' ({{lang-de|Grundrisse}}; ปัจจัยพื้นฐาน) และ ''สงครามกลางเมืองในฝรั่งเศส'' (The Civil War in France)<ref>Ernesto Screpanti, ''Libertarian Communism: Marx Engels and the Political Economy of Freedom'', Palgrave Macmillan, London, 2007.</ref> ซึ่งเน้นความเชื่อของมากซ์ที่ว่า[[ชนชั้นแรงงาน]]สามารถกำหนดชะตากรรมของตนเองได้โดยไม่ต้องพึงพานักปฏิวัติหรือรัฐเข้ามาเป็นตัวกลางหรือตัวช่วยในการปลดแอกตนเอง<ref>{{cite book|author=[[Hal Draper]]|title=The Principle of Self-Emancipation in Marx and Engels|url=http://socialistregister.com/index.php/srv/article/view/5333|location=|publisher=The Socialist Register|page=|date=1971|isbn=|accessdate=April 25, 2015}}</ref> ดังนั้นลัทธิมากซ์แบบอิสรนิยมจึงถือเป็นแนวคิดกระแสหลักหนึ่งในสองกระแสภายใต้[[สังคมนิยมแบบอิสรนิยม|ลัทธิสังคมนิยมแบบอิสรนิยม]]เคียงคู่กับ[[อนาธิปไตย]]<ref>Chomsky, Noam. [https://web.archive.org/web/20130116194522/http://www.chomsky.info/audionvideo/19700216.mp3 "Government In The Future"] Poetry Center of the New York YM-YWHA. Lecture.</ref>
{{โครง-ส่วน}}
 
ลัทธิมากซ์แบบอิสรนิยมยังรวมถึงแนวคิดกระแสอื่น ๆ เช่น [[โรซา ลุกเซิมบวร์ค|ลัทธิลุกเซิมบวร์ค]] [[ลัทธิคอมมิวนิสต์แบบองค์คณะนิยม]] คอมมิวนิสต์ฝ่ายซ้าย ''โซซียาลิสม์อูบาร์บารี'' ({{lang-fr|Socialisme ou Barbarie}}; สังคมนิยมหรืออนารยชน) แนวทางจอห์นสัน-ฟอเรสต์ ลัทธิสังคมนิยมโลก ลัทธิเลททริหรือสภาวะนิยม (Lettrism หรือ Situationism) ''ออปอเรซโม'' ({{lang-it|Operaismo}}) หรืออัตินิยม (autonomism) และฝ่ายซ้ายใหม่<ref>{{cite web|url=http://libcom.org/library/libertarian-marxist-tendency-map|title=A libertarian Marxist tendency map|publisher=libcom.org|date=|accessdate=October 1, 2011}}</ref> ซึ่งบ่อยครั้งที่ลัทธิมากซ์แบบอิสรนิยมมีอิทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดฝ่ายซ้ายยุคหลัง (post-left) และอนาธิปไตยแบบสังคมนิยม นักทฤษฎีตามลัทธิมากซ์แบบอิสรนิยมที่มีชื่อเสียง เช่น ออนทอน พันเนอคุก, รายา ดูนาเยฟสกายา, ซี.แอล.อาร์. เจมส์, คอร์นีเลียส กัสโตรรีอาดีส, เมาริซ บรินตัน, กี เดอบอร์, ดานียาล เกแรง, แอเนสโต สเครปันติ และ ราอูล วาเนญอง
 
=== สภาคอมมิวนิสต์ ===