ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 61:
=== การล่มสลายของสหภาพโซเวียต ===
{{บทความหลัก|การล่มสลายของสหภาพโซเวียต}}
สหภาพโซเวียตล่มสลายลงในวันที่ 26 ธันวาคม ค.ศ. 1991 อันเป็นผลมาจากการแถลงการณ์เลขที่ 142-เอช โดย[[สภาโซเวียตสูงสุดแห่งสหภาพโซเวียต]]<ref name="ReferenceC">{{ru icon}} [[:s:ru:Декларация Совета Республик ВС СССР от December 26, 1991 № 142-Н|Declaration № 142-Н]] of the [[Soviet of Nationalities|Soviet of the Republics of the Supreme Soviet of the Soviet Union]], formally establishing the dissolution of the Soviet Union as a state and subject of international law. {{ru icon}}</ref> แถลงการณ์ดังกล่าวได้รับทราบการประกาศเอกราชของอดีต[[สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต|สาธารณรัฐโซเวียต]]และสถาปนา[[เครือจักรภพรัฐเอกราช]]ขึ้นแทน ซึ่งการลงนามรับรองแถลงการณ์ดังกล่าวมีเหตุต้องล่าช้าออกไปหรือไม่มีการลงนามรับรองเลยแต่อย่างได้ ในขณะที่หนึ่งวันก่อนหน้านี้ ประธานาธิบดีโซเวียต [[มิคาอิล กอร์บาชอฟ]] ([[ผู้นำสหภาพโซเวียต]]คนที่แปดและคนสุดท้าย) ประกาศลาออก ยุบตำแหน่ง และถ่ายโอนอำนาจทั้งหมดแก่[[ประธานาธิบดีรัสเซีย]] [[บอริส เยลต์ซิน]] ซึ่งรวมถึงสิทธิ์ครอบครองรหัสปล่อยขีปนาวุธนำวิถีของสหภาพโซเวียต ต่อมา เวลา 7.32 น. ของเย็นวันเดียวกันนั้น [[ธงชาติสหภาพโซเวียต]]ถูกลดลงจากยอดเสาของ[[พระราชวังเครมลิน]]เป็นครั้งสุดท้าย และแทนที่ด้วย[[ธงชาติรัสเซีย]]แบบที่ใช้ก่อน[[การปฏิวัติรัสเซีย|การปฏิวัติ]]<ref>{{cite news|url=https://www.nytimes.com/learning/general/onthisday/big/1225.html#article|title=Gorbachev, Last Soviet Leader, Resigns; U.S. Recognizes Republics' Independence|work=New York Times|accessdate=April 27, 2015}}</ref>
 
ช่วงเวลาก่อนหน้านี้ตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงธันวาคม สาธารณรัฐโซเวียตแต่ละแห่งรวมถึงรัสเซียเองได้แยกตัวออกจากการเป็นสหภาพมาก่อนแล้ว โดยที่อดีตสาธารณรัฐโซเวียตทั้ง 11 แห่ง ได้ร่วมลงนามใน[[พิธีสารอัลมา-อาตา]] ซึ่งได้สถาปนาเครือจักรภพรัฐเอกราชและประกาศยุบสหภาพโซเวียตหนึ่งสัปดาห์ก่อนการล่มสลายอย่างเป็นทางการ<ref>{{cite news|url=https://www.nytimes.com/1991/12/22/world/end-soviet-union-text-declaration-mutual-recognition-equal-basis.html|title=The End of the Soviet Union; Text of Declaration: 'Mutual Recognition' and 'an Equal Basis'|work=The New York Times|date=December 22, 1991|accessdate=March 30, 2013}}</ref><ref>{{cite news|url=https://www.nytimes.com/learning/general/onthisday/big/1225.html#article|title=Gorbachev, Last Soviet Leader, Resigns; U.S. Recognizes Republics' Independence|work=The New York Times|accessdate=March 30, 2013}}</ref>
บรรทัด 95:
=== ลัทธิเลนิน ===
{{บทความหลัก|ลัทธิเลนิน}}
[[Fileไฟล์:Lenin-statue-in-Kolkata.jpg|thumb|upright=0.8|รูปปั้นวลาดีมีร์ เลนิน ในเมือง[[กัลกัตตา]] [[รัฐเบงกอลตะวันตก]]]]
{{คำพูด|เราต้องการบรรลุระเบียบทางสังคมใหม่ที่ดีกว่าเดิม: ในสังคมใหม่ที่ดีกว่านี้จะต้องไม่มีคนรวยหรือคนจน ทุกคนต้องทำงาน คนทำงานทุกคนจะต้องได้ผลประโยชน์จากแรงงานของตน ไม่ใช่แค่คนรวยจำนวนหนึ่งเท่านั้น เครื่องจักรและการปรับปรุงอื่น ๆ ต้องถูกใช้เพื่อบรรเทาภาระงานของทุกคน ไม่ใช่เพื่อให้คนรวยร่ำรวยขึ้นบนความทุข์ยากของคนนับสิบนับล้าน สังคมใหม่ที่ดีกว่านี้มีชื่อว่าสังคมสังคมนิยม<!--socialist society แปลได้ว่าสังคมสังคมนิยม ไม่ใช่การแปลผิดแต่อย่างใด--> และการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสังคมดังกล่าวเรียกว่า "ลัทธิสังคมนิยม"|วลาดีมีร์ เลนิน ค.ศ 1903<ref>[http://www.marxists.org/archive/lenin/works/1903/rp/1.htm "To the Rural Poor" (1903)]. ''Collected Works''. vol. 6. p. 366.</ref>}}
ลัทธิเลนินคือตัวตนของทฤษฎีการเมืองที่พัฒนาโดยและตั้งชื่อตามนักปฏิวัติชาวรัสเซีย [[วลาดีมีร์ เลนิน]] ผู้ซึ่งภายหลังก้าวขึ้นเป็นผู้นำโซเวียต สำหรับองค์กรทางประชาธิปไตยของพรรคแนวหน้าการปฏิวัติและความสำเร็จของเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพ อันจะเบิกทางไปสู่การสถาปนาลัทธิสังคมนิยมในทางการเมือง ลัทธิเลนินประกอบขึ้นจากทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมืองต่าง ๆ ซึ่งพัฒนามาจากลัทธิมากซ์ เช่นเดียวกับการตีความทฤษฎีมากซิสต์ของเลนินเองเพื่อให้สามารถไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติกับสภาพแวดล้อมเงื่อนไขของ[[จักรวรรดิรัสเซีย]] ที่เป็นสังคมเกษตรกรรมในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 ลัทธิเลนินถูกนำไปปฏิบัติใช้เป็นระยะเวลา 5 ปีในฐานะปรัชญาการเมืองและเศรษฐกิจตามแนวทางมากซิสต์ในแบบฉบับของรัสเซีย ซึ่งบังคบใช้จริงและยังให้เกิดผลโดยพวก[[บอลเชวิก]] พรรคการเมืองแนวหน้าผู้นำการต่อสู้เพื่ออิสระภาพอิสรภาพทางการเมืองของชนชั้นแรงงาน
 
=== ลัทธิมากซ์-เลนิน ลัทธิสตาลิน และลัทธิทรอตสกี ===
บรรทัด 128:
 
== คอมมิวนิสต์แบบอื่น ==
รูปแบบหลักของลัทธิคอมมิวนิสต์ตั้งอยู่บนพื้นฐานของลัทธิมากซ์ อย่างไรก็ตามลัทธิคอมมิวนิสต์ตามแนวทางอื่นที่ไม่ใช่ลัทธิมากซ์ยังปรากฎปรากฏให้เห็นด้วยเช่นกัน
 
=== ลัทธิคอมมิวนิสต์-อนาธิปไตย ===