ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนสมุทรปราการ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
| group = [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน|สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6 ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ]]
| class_range = มัธยมศึกษาปีที่ 1-6
| students = 3,246 คน <small>ปีการศึกษา 25592560</small><ref>[http://www.prakan.ac.th/index.php?option=com_content&view=categoryarticle&layoutcatid=blog38%3A2009-01-21-13-46-29&id=38966%3A2009-01-27-08-33-14&format=pdf&option=com_content&Itemid=37 จำนวนนักเรียน]</ref>
| language = ภาษาที่มีการเรียนการสอนในโรงเรียน
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย|ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ|ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|JPN}} [[ภาษาญี่ปุ่น|ภาษาญี่ปุ่น]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีนกลาง|ภาษาจีน]]<br> {{flagicon|France}} [[ภาษาฝรั่งเศส|ภาษาฝรั่งเศส]](ยกเลิกแล้ว)<br>
บรรทัด 32:
[[ไฟล์:สมุทรปราการในอดีต.jpg|200px|thumbnail|left|ป้ายชื่อโรงเรียนสมุทรปราการในอดีต]]
 
โรงเรียนสมุทรปราการทำการสอนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2426 หลัง[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ได้เสร็จลงมาตั้งโรงเรียนหนังสือไทยที่วัดกลาง เมืองสมุทรปราการ ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ จัดตั้งโรงเรียนที่มีอยู่ตามพระอารามหลวง<ref name="SPK">{{citeนางสาววรัฏรยา webหุ่นเจริญ |url=มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2545 [http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/thesis/fulltext/thapra/Varatraya_Hunchareon/fulltext.pdf |title=''โรงเรียนสมัยร.รัชกาลที่ 5''] |date= |publisher=มหาวิทยาลัยศิลปากร | author=นางสาววรัฏรยา หุ่นเจริญ |language=รูปแบบภาษาไทยและอังกฤษ| year =2545 สืบค้นเมื่อ |accessdate=5 พฤษภาคม 2561}}</ref>

ทำให้โรงเรียนหนังสือไทยที่วัดกลางได้รับการจัดตั้งเป็น '''โรงเรียนวัดกลาง''' เมื่อ พ.ศ. 2429<ref>[http://www.prakan.ac.th/index.php?option=com_content&view=category&layout=blog&id=40&Itemid=27 ประวัติโรงเรียน]</ref>
โดยจากหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือราชกิจจานุเบกษาและตำนานวัดกลางที่จดหมายของพระครูสุนทรสมุทร์ (จ้อย สุวัณณสโร) ที่ใช้เวลาในการรวบรวมมากว่า 20 ปี ก่อนที่ท่านจะมรณภาพตลอดจนเอกสารสำคัญทางประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวกับโรงเรียนวัดกลางเมืองสมุทรปราการ<ref name="pra">พระครูสุนทรสมุทร ตำนานวัดกลาง จังหวัดสมุทรปราการ ตามจดหมายเหตุความทรงจำ, ม.ป.ท., 2462</ref>
 
เส้น 62 ⟶ 64:
พ.ศ. 2434 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ให้ตั้งกรมศึกษาธิการขึ้นในกระทรวงธรรมการ ก็เพราะมีพระราชประสงค์จะจัดการศึกษาเล่าเรียนให้แพร่หลายออกไปอีกทั้งจำนวนนักเรียนโดยประมาณชั้นสูงเพียง 201 คน โรงเรียนภาษาอังกฤษ 206 คน โรงเรียนสามัญซึ่งตั้งในพระอารามต่าง ๆ ทั่วในพระนครและหัวเมืองรวม 51 ตำบล มีนักเรียน 2,360 คน โรงเรียนเชลยศักดิ์ 46 โรง นักเรียน 827 คน ยังเป็นการน้อยนักไม่สมดังพระประสงค์ ประกอบกับศิษย์วัดมักจะไม่ได้มาเรียนถึงแม้จะให้มาเรียนก็ให้มาแต่น้อยจะมีก็แต่เด็กชาวบ้านที่บิดา มารดา ยอมสมัครให้มาเรียนเสียโดยมากแต่เด็กเหล่านี้บ้างก็มาบ้างก็ไม่มา บางทีก็เลิกเรียนเสียทีเดียว ทำให้ไม่เป็นการแน่นอนจึงเป็นเหตุให้จำนวนนักเรียนน้อยไป เป็นการสมควรที่จะจัดการแก้ไขให้การศึกษาหนังสือไทยแพร่หลายออกไป เพื่อให้ประชาราษฎร์ได้รับประโยชน์การเล่าเรียนเต็มบริบูรณ์ทั่วหน้ากัน<ref>[http://prakan.50webs.com/profile_school/index_files/Page350.htm ประวัติโรงเรียนสมุทรปราการหน้าที่2]</ref>
 
พ.ศ. 2435 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เจ้าพนักงานกระทรวงธรรมการ จัดการศึกษาให้เป็นแบบแผน โดยแบ่งการเล่าเรียนเป็นลำดับชั้น บรรดาการเล่าเรียนในชั้นแรกเรียกว่า มูลศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ<ref name="AAA">{{citeม.ม.ป. web|url=[https://nisakorn5746702006.files.wordpress.com/2014/10/e0b89be0b8a3e0b8b0e0b8a7e0b8b1e0b895e0b8b4e0b881e0b8b2e0b8a3e0b8a8e0b8b6e0b881e0b8a9e0b8b2e0b984e0b897e0b8a2.pdf|title= การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474)|accessdate=]สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2561}}</ref>
*โรงเรียนมูลสามัญชั้นต่ำ ให้สอนเพียง เขียน อ่าน คิดเลข 4 แม่ (บวก ลบ คูณ หาร)
*โรงเรียนมูลสามัญชั้นสูง ให้สอน เขียน อ่าน แต่งข้อความ ไวยากรณ์ คิดเลข พระราชพงศาวดาร ภูมิศาสตร์ วิทยาการตามแบบเรียน