ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 76:
{{บทความหลัก|ลัทธิมากซ์}}
[[ไฟล์:Karl Marx 001.jpg|thumb|right|คาร์ล มากซ์]]
มาร์กซ์และเองเกลส์มากซ์และเองเงิลส์พยายามหาแนวทางที่จะนำจุดจบมาสู่ระบบทุนนิยมและการกดขี่ผู้ใช้แรงงานเหมือนกับนักสังคมนิยมคนอื่นๆ แต่ในขณะที่นักสังคมนิยมคนอื่นหวังถึงการค่อยๆ ปฏิรูปสังคมในระยะยาว ทั้งมาร์กซ์และเองเกิลส์คิดว่ามีอยู่หนทางเดียวเท่านั้นที่จะนำไปสู่ระบอบสังคมนิยมได้ นั่นคือการปฏิวัติ<ref>Marx, Karl. The German Ideology. 1845. Part I: Feuerbach. Opposition of the Materialist and Idealist Outlook. A. Idealism and Materialism. "Communism is for us not a state of affairs which is to be established, an ideal to which reality [will] have to adjust itself. We call communism the real movement which abolishes the present state of things. The conditions of this movement result from the premises now in existence."</ref>
 
ตามที่ข้อสนับสนุนลัทธิคอมมิวนิสต์ของมากซ์กล่าวไว้ว่า ลักษณะเฉพาะของเผ่าพันธุ์มนุษย์ในสังคมชนชั้นคือความไม่สนใจซึ่งกันและกัน และยังกล่าวอีกว่าความคิดแบบคอมมิวนิสต์คือสิ่งที่มนุษย์ปรารถนา เพราะมันนำมาซึ่งความหยั่งรู้และการพบกับอิสรภาพแห่งมนุษย์อย่างแท้จริง มากซ์ในที่นี้กล่าวตาม[[นักปรัชญา]][[ชาวเยอรมัน]] [[จอร์จ วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกิล]] (G.W.F. Hegel) ที่กล่าวว่าอิสรภาพมิใช่เพียงแค่การมิให้อำนาจเข้ามาควบคุมเท่านั้น แต่ยังหมายถึงการกระทำที่มีสำนึกศีลธรรมอีกด้วยไม่เพียงแค่ระบอบคอมมิวนิสต์จะทำให้คนทำในสิ่งที่พวกเขาต้องการเท่านั้น แต่การทำให้มนุษย์ที่มีสถานภาพเดียวกันและความเหมือนกันนั้น จะทำให้พวกเขาไม่ต้องการแสวงหาผลประโยชน์สู่ตนเองอีกต่อไป ในขณะที่เฮเกิลคิดถึงการใช้ชีวิตตามหลักจรรยา ผ่านมโนภาพที่ยิ่งใหญ่ แต่สำหรับมากซ์แล้ว คอมมิวนิสต์นั้นเกิดขึ้นได้จากวัตถุและผลิตผล<ref>Engels, Friedrich. Marx & Engels Selected Works, Volume One, pp. 81–97, Progress Publishers, Moscow, 1969. "Principles of Communism". #4 – "How did the proletariat originate?"</ref> โดยเฉพาะการพัฒนารายได้ที่ประชาชนจะได้รับจากการผลิต