ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิคอมมิวนิสต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 95:
=== ลัทธิเลนิน ===
{{บทความหลัก|ลัทธิเลนิน}}
[[File:Lenin-statue-in-Kolkata.jpg|thumb|upright=0.8|รูปปั้นวลาดีมีร์ เลนิน ในเมือง[[กัลกัตตา]] [[รัฐเบงกอลตะวันตก]]]]
ลัทธิเลนินเป็นทฤษฎีการเมืองที่ตั้งชื่อตามนักปฏิวัติชาวรัสเซียและ[[ผู้นำสหภาพโซเวียต]] [[วลาดีมีร์ เลนิน]]โดยแนวคิตนี้เป็นทฤษฎีการเมืองส่วนสำหรับการจัดระเบียบพรรคการเมืองแนวหน้าปฏิวัติอย่างเป็นประชาธิปไตย และการบรรลุลัทธิเผด็จการโดยชนกรรมาชีพซึ่งเป็นประชาธิปไตยทางตรง เช่นเดียวกับสังคมนิยม เพื่อการประยุกต์ปฏิบัติเข้ากับสภาพทางสังคมและการเมืองของ[[จักรวรรดิรัสเซีย]]ซึ่งเป็นประเทศเกษตรกรรมในช่วงต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] ในเดือนกุมภาพันธ์ 1917 เป็นเวลาห้าปี ลัทธิเลนินเป็นการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจและการเมืองลัทธิมากซ์ของรัสเซีย ผู้นำไปปฏิบัติ คือ [[พรรคบอลเชวิก]]
{{คำพูด|เราต้องการบรรลุระเบียบทางสังคมใหม่ที่ดีกว่าเดิม: ในสังคมใหม่ที่ดีกว่านี้จะต้องไม่มีคนรวยหรือคนจน ทุกคนต้องทำงาน คนทำงานทุกคนจะต้องได้ผลประโยชน์จากแรงงานของตน ไม่ใช่แค่คนรวยจำนวนหนึ่งเท่านั้น เครื่องจักรและการปรับปรุงอื่น ๆ ต้องถูกใช้เพื่อบรรเทาภาระงานของทุกคน ไม่ใช่เพื่อให้คนรวยร่ำรวยขึ้นบนความทุข์ยากของคนนับสิบนับล้าน สังคมใหม่ที่ดีกว่านี้มีชื่อว่าสังคมสังคมนิยม<!--socialist society แปลได้ว่าสังคมสังคมนิยม ไม่ใช่การแปลผิดแต่อย่างใด--> และการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสังคมดังกล่าวเรียกว่า "ลัทธิสังคมนิยม"|วลาดีมีร์ เลนิน ค.ศ 1903<ref>[http://www.marxists.org/archive/lenin/works/1903/rp/1.htm "To the Rural Poor" (1903)]. ''Collected Works''. vol. 6. p. 366.</ref>}}
ลัทธิเลนินคือตัวตนของทฤษฎีการเมืองที่พัฒนาโดยและตั้งชื่อตามนักปฏิวัติชาวรัสเซีย [[วลาดีมีร์ เลนิน]] ผู้ซึ่งภายหลังก้าวขึ้นเป็นผู้นำโซเวียต สำหรับองค์กรทางประชาธิปไตยของพรรคแนวหน้าการปฏิวัติและความสำเร็จของเผด็จการชนชั้นกรรมาชีพ อันจะเบิกทางไปสู่การสถาปนาลัทธิสังคมนิยมในทางการเมือง ลัทธิเลนินประกอบขึ้นจากทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมืองต่าง ๆ ซึ่งพัฒนามาจากลัทธิมากซ์ เช่นเดียวกับการตีความทฤษฎีมากซิสต์ของเลนินเองเพื่อให้สามารถไปประยุกต์ใช้ในเชิงปฏิบัติกับสภาพแวดล้อมเงื่อนไขของ[[จักรวรรดิรัสเซีย]] ที่เป็นสังคมเกษตรกรรมในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 ลัทธิเลนินถูกนำไปปฏิบัติใช้เป็นระยะเวลา 5 ปีในฐานะปรัชญาการเมืองและเศรษฐกิจตามแนวทางมากซิสต์ในแบบฉบับของรัสเซีย ซึ่งบังคบใช้จริงและยังให้เกิดผลโดยพวก[[บอลเชวิก]] พรรคการเมืองแนวหน้าผู้นำการต่อสู้เพื่ออิสระภาพทางการเมืองของชนชั้นแรงงาน
 
=== ลัทธิมากซ์-เลนินและลัทธิสตาลิน ===