ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
| followed_by = [[มหาราชวงศ์ ฉบับที่สอง]]
}}
'''มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว'''<ref name="พงศาวดาร">{{cite web|author=จิตราภรณ์ สถาปนะวรรธนะ|title=พงศาวดารพม่า|url=http://www.myanmar.nu.ac.th/poli/index3_12.htm|publisher=ศูนย์พม่าศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร|accessdate=14 มีนาคม 2561}}</ref> ({{lang-my|မှန်နန်း မဟာ ရာဇဝင်တော်ကြီး}}, {{IPA-my|m̥àɴnáɴ məhà jàzəwɪ̀ɴdɔ̀dʑí|pron}} ''หมั่งนังหมั่นนัน มะห่าหย่าซะหวิ่งด่อจีหวิ่นด่อจี'') เป็นหนังสือ[[บันทึกเหตุการณ์]]ฉบับทางการเป็นฉบับแรกของราชวงศ์คองบอง ที่[[พระเจ้าจักกายแมง]]โปรดให้[[คณะกรรมการประวัติศาสตร์หลวงแห่งพม่า]]เรียบเรียงขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1829 และ ค.ศ. 1832<ref name=hy-1-vi/><ref name=uhp-39-40>Hla Pe 1985: 39–40</ref> โดยอาศัยเอกสารบันทึกเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นหลายฉบับ และจารึกที่รวบรวมได้ในรัชสมัย[[พระเจ้าปดุง]] ตลอดจน[[มหากาพย์]]พระราชประวัติหลายฉบับ แม้ผู้เรียบเรียงจะแย้งข้อมูลบางส่วนใน[[มหาราชวงศ์]]ฉบับ[[อูกะลา]] ซึ่งเป็นบันทึกเหตุการณ์ฉบับมาตรฐานของ[[ราชวงศ์ตองอู]] แต่ยังคงข้อมูลตามมหาราชวงศ์ฉบับนั้น<ref name=uhp-39-40/>
 
มหาราชวงศ์ฉบับนี้มีเนื้อหาครอบคลุมมาจนถึง ค.ศ. 1821 ไม่นานก่อนเกิด[[สงครามอังกฤษ-พม่าครั้งที่หนึ่ง]] (ค.ศ. 1824–1826) และไม่ได้ใช้แนวคิดทางประวัติศาสตร์แบบโลกวิสัย แต่อาศัยศาสนาสร้างความชอบธรรมให้กับสถาบันกษัตริย์<ref name=mat-2005-144-145>Aung-Thwin 2005: 144–145</ref> อย่างไรก็ตามการอ้างว่าสถาบันกษัตริย์พม่ามีต้นกำเนิดมาจากพระวงศ์ของ[[พระโคตมพุทธเจ้า]]และ[[พระเจ้ามหาสมมต]]แทนการอ้างตำนานก่อนพุทธศาสนา นับเป็นพัฒนาการสำคัญที่สุดที่สะท้อนในเอกสารฉบับนี้<ref name=uhp-39-40/><ref name=vbl-2003-196>Lieberman 2003: 196</ref>