ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
เสียงจัตวาอยู่แล้ว
บรรทัด 34:
ปัจจุบันภาษาฮกเกี้ยนในประเทศจีนมีการแบ่งแยกเป็นท้องถิ่นอยู่อีกหลายที่ หลักๆแบ่งได้เป็นสี่ที่หลักๆ<ref>[http://www.fjsq.gov.cn/ReadNews.asp?NewsID=4607&BigClassName=福建概览&SmallClassName=福建概览&SpecialID=0&Style=2 福建概览 方言]</ref>ได้แก่
* ฮกเกี้ยนภาคตะวันออก(สำเนียงเอ้หมึง) โดยแบ่งออกเป็นสำเนียงย่อยในเกาะและนอกเกาะเอ้หมึง
* ฮกเกี้ยนถิ่นจงาจิว สามารถแบ่งย่อยเป็นสำเนียงย่อยดังนี้: สำเนียงถงอาน(同安话) , สำเนียงกิมหมึง(金门话), สำเนียงหนานอาน(南安话), สำเนียงอานซี(安溪话), สำเนียงจิ๋นเกียง(晋江话), สำเนียงสื๋อสือ(石狮话), สำเนียงหุ๋ยอันหุยอัน(惠安话), สำเนียงเถ๋าปักเถาปัก(头北话), สำเนียงหุ๋ยหนานหุยหนาน(惠南话)
* ฮกเกี้ยนถิ่นเจียงจิว สามารถแยกเป็นสำเนียงย่อยได้ดังนี้: สำเนียงเล๊งซี(龙溪话), สำเนียงเจียงปู่(漳浦话), สำเนียงหนานชิง(南靖话)
* ฮกเกี้ยนตะวันตก(สำเนียงเล๊งเยียน) สามารถแบ่งย่อยเป็นสำเนียงย่อยคือสำเนียงซินหลอ(新罗话)กับสำเนียงเจียงเป๋ง(漳平话)