ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธีรเดช มีเพียร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
วุฒิสมาชิก → สมาชิกวุฒิสภา
บรรทัด 1:
{{ผู้นำประเทศ
| name = ธีรเดช มีเพียร
| image = ธีรเดช มีเพียร.jpg
| order = [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]
| term_start = [[31 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2557]]
| term_end =
| order1 = [[รายนามประธานวุฒิสภาไทย|ประธานวุฒิสภา]]
| term_start1 = [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2554]]
| term_end1 = [[25 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2555]]<br> ({{อายุปีและวัน|2554|4|22|2555|7|25}})
| predecessor1 = [[ประสพสุข บุญเดช]]
| successor1 = [[นิคม ไวยรัชพานิช]]
| order2 = ปลัด[[กระทรวงกลาโหม]]
| term_start2 = [[1 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2541]]
| term_end2 = [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2543]]
| predecessor2 = พลเอก [[ยุทธศักดิ์ ศศิประภา]]
| successor2 = พลเอก [[ธวัช เกษร์อังกูร]]
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2482|3|21}} <ref>[http://www.senate.go.th/w3c/senate/main.php?url=content&id=18 ประธานวุฒิสภา]</ref>
| birth_place =
| death_date =
| death_place =
| party =
| spouse = คุณหญิงกรกช มีเพียร
| religion = [[พุทธ]]
| signature =
| footnotes =
}}
'''พลเอก ธีรเดช มีเพียร''' สมาชิกวุฒิสภาแบบสรรหา (ชุด 2554) และ อดีตประธานวุฒิสภา คนที่ 18 ของไทย อดีตประธาน[[ผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย]] และอดีดปลัด[[กระทรวงกลาโหม (ประเทศไทย)|กระทรวงกลาโหม]] รองประธาน[[สถาบันพระปกเกล้า]]
 
== ประวัติ ==
พล.อ. ธีรเดช มีเพียร เกิดเมื่อวันที่ [[21 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2482]] จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]] สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต จาก[[โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า]] ปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ประกาศนียบัตรนักบินทหาร และประกาศนียบัตรเสนาธิการทหารบก จาก[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] สำเร็จหลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร จาก[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] (วปอ.) รุ่นที่ 34 และได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขารัฐศาสตร์ จาก[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]
 
== การทำงาน ==
=== ราชการทหาร ===
พล.อ. ธีรเดช มีเพียร เคยดำรงตำแหน่งผู้บังคับการกองพันทหารปืนใหญ่ ในปี [[พ.ศ. 2520]] เป็นวุฒิสภาชิก ในปี พ.ศ. 2522 เป็นเจ้ากรมการข่าวทหาร ปี พ.ศ. 2536 เป็นผู้บัญชาการ[[สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ|สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ]] ในปี พ.ศ. 2539 และเป็นผู้อำนวยการองค์การทหารผ่านศึก ในปี พ.ศ. 2540 จนกระทั่งได้รับตำแหน่งปลัดกระทรวงกลาโหม ในปี พ.ศ. 2541<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/D/080/14.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ]</ref> จนเกษียณอายุราชการในปี พ.ศ. 2542
 
=== ผู้ตรวจการแผ่นดิน ===
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2546]] ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00136078.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา]</ref> และเปลี่ยนเป็นผู้ตรวจการแผ่นดิน ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] และได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นประธานผู้ตรวจการแผ่นดินคนแรก เมื่อวันที่ [[14 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2550]]<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/E/185/1.PDF ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน]</ref> จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งเมื่ออายุครบ 70 ปี ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2553
 
=== สมาชิกวุฒิสภา ===
=== วุฒิสมาชิก ===
ในปี [[พ.ศ. 2554]] พล.อ. ธีรเดช มีเพียร ได้รับการสรรหาให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกวุฒิสภา<ref>[http://www2.ect.go.th/download-file.php?Action=download&DataID=7394 ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง ผลการสรรหาสมาชิกวุฒิสภา]</ref> และได้รับคัดเลือกเป็นประธานวุฒิสภา เมื่อวันที่ [[22 เมษายน]] [[พ.ศ. 2554]] ด้วยเสียงสนับสนุน 94 เสียง<ref>[http://www.ryt9.com/s/iq02/1134227 พล.อ. ธีรเดช มีเพียรได้รับเลือกเป็นประธานวุฒิสภาคนใหม่]</ref> ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 สื่อมวลชนรประจำรัฐสภาได้มีการตั้งฉายาให้กับนักการเมือง ซึ่งพลเอกธีรเดช ได้รับฉายาในครั้งนี้ว่า ''"นายพลถนัดชิ่ง"''<ref>[http://www.manager.co.th/home/viewnews.aspx?NewsID=9540000164077 สื่อตั้งฉายาสภาผู้แทนฯ เป็น"กระดองปูแดง"/"ปู"เป็นดาวดับ]</ref> จากบทบาทการเลี่ยงตอบคำถามของนักข่าว จนถูกมองว่าเป็นการชิ่งหนี
 
มกราคม พ.ศ. 2557 ศาลอาญาตัดสินให้พล.อ. ธีรเดช มีเพียร พ้นจากข้อกล่าวหา แต่จากสถานะการณ์ร้อนแรงทางการเมืองทำให้ไม่ได้รับการเสนอข่าวจากสำนักข่าวใดๆใด ๆ ในประเทศไทย
 
==== การพ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภา ====
พล.อ. ธีรเดช พ้นจากตำแหน่งเมื่อวันที่ [[25 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2555]] หลังศาลอาญามีคำสั่งให้ตัดสินจำคุก 2 ปี เนื่องจากเมื่อครั้งดำรงตำแหน่งประธานผู้ตรวจการแผ่นดินของประเทศไทย ได้ขึ้นเงินเดือนให้ตัวเอง แต่ทว่าสถานะความเป็นสมาชิกวุฒิสภายังคงดำรงอยู่<ref>[http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/392953.html เลขาฯ วุฒิสภาแจง “พล.อ. ธีรเดช” พ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภา จาก[[ช่อง 9]]]</ref>
ปี พ.ศ. 2556 ศาลอาญาตัดสินยกคำร้องหลังจากพิจารณาการอุทรณ์
 
ในวันที่ 31 กรกฎาคม 2557 ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ภายหลังการรัฐประหารโดย[[คณะรักษาความสงบแห่งชาติ]] <ref>[http://m.matichon.co.th/readnews.php?newsid=1406818395 พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (คลิกอ่าน 200 รายชื่อ)]</ref>
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
บรรทัด 58:
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = #E9E9E9
| สี2 =
| สี3 = #E9E9E9
| รูปภาพ = Seal_of_the_National_Assembly_of_Thailand.png
| ตำแหน่ง = [[รายนามประธานวุฒิสภาไทย|ประธานวุฒิสภา]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[ประสพสุข บุญเดช]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[นิคม ไวยรัชพานิช]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = 22 เมษายน พ.ศ. 2554 - 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
}}
{{จบกล่อง}}