ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาเวียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
|status = dd
|status_system = iucn3.1
|status_ref = <ref>{{Cite journal | author = M. Kottelat | title = ''Tor tambroides'' | journal = [[The IUCN Red List of Threatened Species]] | volume = 2012 | page = e.T187939A1837406 | publisher = [[IUCN]] | date = 2012 | url = http://www.iucnredlist.org/details/187939/0 | doi = 10.2305/IUCN.UK.2012-1.RLTS.T187939A1837406.en | access-date = 15 January 2018}}</ref>
| regnum = [[Animalia]]
| phylum = [[Chordata]]
เส้น 19 ⟶ 20:
}}
 
'''ปลาเวียน''' ({{lang-en|Thai mahseer, Greater brook carp}}) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่งจำพวก[[มาห์เซียร์]] มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Tor tambroides'' อยู่ใน[[วงศ์ปลาตะเพียน]] (Cyprinidae) เป็นปลาในวงศ์ปลาตะเพียนขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะคล้าย[[ปลาพลวงหิน]] (''Neolissochilus stracheyi'') ซึ่งอยู่ใน[[วงศ์ (ชีววิทยา)|ตระกูล]]เดียวกัน เว้นแต่ริมฝีปากบนมีแผ่นหนังยื่นออกมาทำให้ดูคล้ายจะงอยปากงุ้มลง และรูปร่างลำตัวที่เพรียวกว่า ขนาดเฉลี่ยโดยทั่วไปประมาณ 60 [[เซนติเมตร]] ขนาดใหญ่สุดที่พบ 1 [[เมตร ]]
[[ภาพ:Thai Mahseer (Tor tambroides) (8683085589).jpg|left|thumb|ส่วนหัว]]
อาศัยตามแหล่งน้ำสะอาดตามต้นน้ำลำธาร มีพฤติกรรมในอพยพย้ายถิ่นลงมาทาง[[ปากแม่น้ำ|ปากน้ำ]]ใน[[ฤดูฝน]] ตามรายงานพบว่า ปลาที่อาศัยใน[[แม่น้ำแม่กลอง]] เมื่อถึงฤดูฝนจะว่ายตามกระแสน้ำลงไปจนถึงปากนี้ ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า "ปลาเหล แม่น้ำ" นานประมาณ 4-4–8 สัปดาห์ จากนั้นจะหวนกลับไปยังต้นน้ำ แสวงหาสถานที่อันเหมาะสมเพื่อผสมพันธุ์ จะวางไข่ในช่วงเดือน[[มิถุนายน]] และ[[กรกฎาคม]]
 
เคยเป็นปลาที่ขึ้นชื่อของ[[จังหวัดเพชรบุรี]] และถือเป็นปลาประจำจังหวัด เพราะมีเนื้อนุ่มละเอียด มี[[ไขมัน]]สะสมในเนื้อเยอะ ซึ่งปัจจุบันพบได้น้อย จนแทบกล่าวได้ว่าหมดไปแล้ว เนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ถูกทำลาย<ref>{{อ้างหนังสือ
เส้น 36 ⟶ 37:
</ref>
 
ปัจจุบัน กรมประมงสามารถที่จะเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว โดยศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดเพชรบุรี ด้วยการรวบรวมพ่อแม่ปลาจากธรรมชาติ โดยมีวิธีการขยายพันธุ์ 2 วิธี คือ การเพาะพันธุ์แบบกึ่งธรรมชาติ ด้วยการเลี้ยงในระบบที่เลียนแบบธรรมชาติ ความสมบูรณ์ของพ่อแม่ปลาจะอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-พฤศจิกายน–กุมภาพันธ์ ปลาแม่ที่พร้อมจะวางไข่จะมีการสลัดไข่ จึงนำมารีดผสมกับน้ำเชื้อของปลาตัวผู้ ไข่จะฟักเป็นตัวในเวลาประมาณ 72-72–96 ชั่วโมง และการเพาะพันธุ์ด้วยวิธีการฉีดฮอร์โมน <ref>หน้า 118-122, '' "ปลาเวียน" ฟื้นคืนชีพจากการเสี่ยงสูญพันธุ์'' โดย นางฟ้าทะเล. "News Update". Aquarium Biz ปีที่ 4 ฉบับที่ 53: พฤศจิกายน 2014</ref>
 
==อ้างอิง==