ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสัญญากรุงเบิร์นว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6733708 สร้างโดย 88.208.35.94 (พูดคุย)
Msirichit (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 12:
แม้ว่าอนุสัญญาเบิร์นจะประกาศให้กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศที่ซึ่งมีการอ้างลิขสิทธิ์สามารถนำไปปรับใช้ได้ ข้อ 7.8 ระบุว่า "เว้นแต่กฎหมายของประเทศนั้นระบุเป็นอื่น เงื่อนไขนั้นจะต้องไม่เกินเงื่อนไขที่กำหนดไว้คงที่ในประเทศต้นกำเนิดผลงานนั้น" นั่นคือ ผู้ประพันธ์โดยทั่วไปจะไม่มีสิทธิในลิขสิทธิ์ในต่างประเทศนานกว่าประเทศที่ตนอยู่อาศัยนั้น แม้ว่ากฎหมายต่างประเทศกำหนดเงื่อนไขนานกว่าก็ตาม นี่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า "กฎแห่งเงื่อนไขสั้นกว่า" ไม่ใช่ทุกประเทศที่ยอมรับกฎนี้
 
อนุสัญญาเบิร์นให้อำนาจแก่ประเทศในการที่จะอนุญาตการใช้ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ "โดยชอบธรรม"ในลักษณะที่เป็นธรรม ภายใต้ข้อยกเว้นการละเมิดตาม มาตรา 9(2) - ซึ่งพ้องกับมาตรา 13 ของสนธิสัญญาทริปส์ (TRIPs) - ในผลงานตีพิมพ์หรือการแพร่ภาพอื่น โดยจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กฏหมายกำหนด และต้องไม่กระทบถึงประโยชน์อันชอบธรรมของเจ้าของลิขสิทธิ์ตามสมควร<ref>{{cite news
|first=Hannibal |last=Travis
|title=Opting Out of the Internet in the United States and the European Union: Copyright, Safe Harbors, and International Law
|url=http://papers.ssrn.com/sol3sol3/papers.cfm?abstract_id=1221642 |work=Notre Dame Law Review, vol. 84, p. 384383 |publisher=President and Trustees of Notre Dame University in South Bend, Indiana |year=2008 |accessdate=June 9, 2010}}</ref> หลักการข้อยกเว้นการละเมิดตามบทบัญญัติของอนุสัญญาเบิร์นจึงไม่รับรองข้อยกเว้นแบบกว้าง อย่างเช่นหลักการ "ใช้โดยชอบธรรม" หรือ fair use ตามอย่างกฎหมายลิขสิทธิของสหรัฐอเมริกาไว้โดยตรง
 
== อ้างอิง ==