ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thmmrth (คุย | ส่วนร่วม)
ลบหน่วยไมล์
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
Art Choco Love (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37:
}}
 
'''รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม''' ({{lang-en|Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line}}) หรือ '''รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง''' ({{lang|en|MRT Purple Line}}) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บท[[โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง|โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบ[[รถไฟฟ้ามหานคร]] โดย [[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]] ([[รฟม.]])
 
เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง [[พ.ศ. 2538]] ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ) -ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของ[[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2547]]
บรรทัด 48:
 
== ภาพรวม ==
เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดินและยกระดับ ดำเนินการโดย [[ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ|บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)]] ในลักษณะของการจ้างเดินรถจากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย มีแนวเส้นทางที่เชื่อมโยงการเดินทางในแนวเหนือ-ใต้ เริ่มต้นจาก[[อำเภออ.บางบัวทอง]] [[จังหวัดจ.นนทบุรี]] ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของ [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯกทม.]] ผ่าน[[อำเภออ.บางใหญ่]] และ[[เทศบาลนครนนทบุรี|เมืองนนทบุรี]] เข้าสู่ใจกลางกรุงเทพฯ ย่าน[[เขตบางซื่อ|บางซื่อ]] ผ่านย่านที่สำคัญในพื้นที่เมืองเก่า[[เขตดุสิต]] และ[[เขตพระนคร]] เช่น โครงการก่อสร้าง[[รัฐสภาไทย|รัฐสภา]]แห่งใหม่ที่[[แยกเกียกกาย|เกียกกาย]] ย่าน[[ถนนสามเสน]], [[บางลำพู]], [[สะพานผ่านฟ้าลีลาศ|ผ่านฟ้า]], [[วังบูรพา]] จากนั้นลอดใต้[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] มายังใจกลางพื้นที่[[ฝั่งธนบุรี]] ณ [[วงเวียนใหญ่]], ผ่านย่านสำเหร่, [[เขตจอมทอง|จอมทอง]], ดาวคะนอง, บางปะกอก, แยกประชาอุทิศ, ผ่าน[[เขตราษฎร์บูรณะ]] ชานเมืองด้านทิศใต้ของกรุงเทพฯ ก่อนเข้าสู่ [[อำเภออ.พระประแดง]] [[จังหวัดจ.สมุทรปราการ]] สิ้นสุดที่บริเวณ[[ถนนกาญจนาภิเษก]] (ใกล้[[สะพานกาญจนาภิเษก]]) รวมระยะทาง 46.6 กิโลเมตร<ref name="M-MAPSEMINAR3">เอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล : การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จัดโดย สนข.</ref><ref name="MSouth2"/> นับเป็นเส้นทางที่ผ่านสถานที่สำคัญมากมายทั้งในพื้นที่[[นนทบุรี]]และกรุงเทพฯ ทั้งยังช่วยเชื่อมต่อการเดินทางจากชานเมืองทั้งด้าน[[นนทบุรี]] และ [[อ.พระประแดง]] ให้สามารถเข้าสู่ใจกลางกรุงเทพฯ ได้อย่างสะดวกสบาย และรวดเร็ว
 
=== พื้นที่ที่เส้นทางผ่าน ===
บรรทัด 71:
<!--เฉพาะส่วนที่เปิดใช้งานในปัจจุบัน-->
[[ไฟล์:Khlong Bang Phai MRT Station 20160806.jpg|250px|thumbnail|left|สถานีคลองบางไผ่ เป็นสถานีปลายทาง]]
เป็นโครงสร้างยกระดับ เริ่มต้นจาก[[สถานีเตาปูน]]ซึ่งเป็นสถานีร่วมกับรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินส่วนต่อขยาย ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ ที่[[แยกเตาปูน]]ตามแนว[[ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี]] มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือ ผ่านจุดตัดทางรถไฟบางซ่อนซึ่งเชื่อมต่อกับรถไฟชานเมืองสายสีแดงอ่อนที่[[สถานีรถไฟบางซ่อน]] ผ่าน[[แยกวงศ์สว่าง]] จนสุดเขต[[กรุงเทพมหานคร]] เข้าสู่เขต[[ตำบล ต.บางเขน]] [[อำเภออ.เมืองนนทบุรี|อำเภอเมืองฯ]] [[จังหวัดจ.นนทบุรี]] เลี้ยวขวาที่[[แยกติวานนท์]] เข้าสู่[[ถนนติวานนท์]] ผ่านทางเข้า[[กระทรวงสาธารณสุข]] เลี้ยวซ้ายก่อนถึง[[แยกแคราย]] เข้าสู่[[ถนนรัตนาธิเบศร์]] มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันตก เชื่อมต่อกับจุดเริ่มต้นของเส้นทาง[[รถไฟฟ้าโมโนเรล สายสีชมพู]] (แคราย-ปากเกร็ด-มีนบุรี) ที่[[สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี]]<ref>[http://www.fs-yellow-brown-pink.com/pink.htm '''โครงการระบบขนส่งมวลชนสายสีชมพู''' โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)]</ref> ผ่านศาลากลางจังหวัดและ[[ศูนย์ราชการนนทบุรี]] จากนั้นข้าม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ที่[[สะพานพระนั่งเกล้า 3 (รถไฟฟ้ามหานคร)|สะพานคู่ขนาน]]ฝั่งทิศใต้ของ[[สะพานพระนั่งเกล้า]] เข้าสู่พื้นที่[[อำเภอบางใหญ่]] ผ่าน[[ทางแยกต่างระดับบางรักน้อย]] (จุดตัด[[ถนนราชพฤกษ์]]) และ[[แยกบางพลู]] เลี้ยวขวาที่[[ทางแยกต่างระดับบางใหญ่]]มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือตาม[[ถนนกาญจนาภิเษก]] ผ่านชุมชนตลาดบางใหญ่ ไปสิ้นสุดเส้นทางบริเวณ[[คลองบางไผ่]] พื้นที่[[ตำบล ต.บางรักพัฒนา]] [[อำเภออ.บางบัวทอง]] [[จังหวัดจ.นนทบุรี]] รวมระยะทางทั้งสิ้น 23 [[กิโลเมตร]]<ref name="mrta">[http://www.mrta.co.th/frame/purple_line50.htm '''โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ช่วงบางใหญ่-บางซื่อ''' โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)]</ref>
 
ส่วนเส้นทางช่วงบางซื่อ-เตาปูนในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินที่ดำเนินการก่อสร้างพร้อมกันนั้น มีเส้นทางเริ่มต้นจากอุโมงค์ใต้ดินของ[[สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)|สถานีบางซื่อ]]ในปัจจุบัน ขึ้นสู่ระดับดินบริเวณหน้าที่ทำการ[[ปูนซิเมนต์ไทย|บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)]] และยกระดับมุ่งหน้า[[สะพานสูงบางซื่อ]] และ[[ถนนประชาราษฎร์ สาย 2]] ก่อนเข้าสู่ชานาชาลาชั้นล่างของ[[สถานีเตาปูน]]ตามแนวทิศตะวันตก-ตะวันออก ระยะทางประมาณ 1.2 กิโลเมตร ดังนั้นรถไฟฟ้าสายสีม่วงจึงไม่ได้เข้าสู่สถานีบางซื่อโดยตรง แต่เชื่อมต่อกับสายสีน้ำเงินช่วงดังกล่าวโดยเข้าสู่ชานชาลาชั้นบนของสถานีเตาปูนตามแนวทิศเหนือ-ใต้ ซึ่งเป็นเส้นทางต่อเนื่องกับโครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ส่วนต่อขยายช่วงเตาปูน-ราษฎร์บูรณะ ทางทิศใต้
บรรทัด 83:
=== รถไฟฟ้ามหานคร ===
[[ไฟล์:Tao Poon MRT Station 201600806.jpg|thumb|สถานีเตาปูน เป็นสถานีเชื่อมต่อระหว่างสายฉลองรัชธรรม กับ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|สายเฉลิมรัชมงคล]]]]
ผู้โดยสารสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังเส้นทางอื่น ๆอื่นๆ ในระบบรถไฟฟ้ามหานครได้ที่สถานีดังต่อไปนี้
* '''ศูนย์ราชการนนทบุรี''' : [[รถไฟฟ้าสายสีชมพู|สายสีชมพู]]
* '''เตาปูน''' : [[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล|สายเฉลิมรัชมงคล]]
บรรทัด 125:
จากนั้นเส้นทางจะลอดใต้[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ด้วยแนวขนานกับ[[สะพานพระปกเกล้า]]เข้าสู่ [[ถนนประชาธิปก]] ผ่าน[[วงเวียนใหญ่]] เชื่อมต่อกับ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม]]ช่วงหัวลำโพง-มหาชัยที่[[สถานีรถไฟวงเวียนใหญ่]] และ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม]]ที่[[สถานีวงเวียนใหญ่ (รถไฟฟ้าบีทีเอส)|สถานีวงเวียนใหญ่]] แล้วมุ่งหน้าไปตาม[[ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน]] ผ่านสำเหร่ [[แยกมไหสวรรย์]]
 
จากนั้น เส้นทางจะยกระดับขึ้นเหนือผิวดินเข้าสู่[[แยกดาวคะนอง]], และ[[ถนนสุขสวัสดิ์]] ผ่าน[[แยกบางปะแก้ว]] ซึ่งเป็นจุดตัด[[ถนนพระรามที่ 2]], ผ่านย่านบางปะกอก, [[แยกประชาอุทิศ]] (กิโลเก้ากม.9) ไปสิ้นสุดเส้นทางบนถนนสุขสวัสดิ์ ก่อนเข้าเขต [[อำเภออ.พระประแดง]] [[จังหวัดจ.สมุทรปราการ]] ผ่านหน้าห้างสรรพสินค้าบิ๊กซีสาขาสุขสวัสดิ์ สิ้นสุดที่ครุใน (บริเวณใต้[[สะพานกาญจนาภิเษก]])
 
รวมระยะทางทั้งสิ้น 23.6 กิโลเมตร เป็นเส้นทางใต้ดินประมาณ 12.6 กิโลเมตร และเส้นทางยกระดับประมาณ 11 กิโลเมตร<ref>https://www.facebook.com/photo.php?fbid=564049827022320&set=a.454958234598147.1073741829.454736764620294&type=1&relevant_count=1</ref>
บรรทัด 132:
* '''สถานี''' มี 17 สถานี (ไม่รวมสถานีเตาปูน)
** สถานีใต้ดิน 10 สถานี (ตั้งแต่สถานีรัฐสภาถึงสถานีสำเหร่) ยาวประมาณ 250 เมตร กว้าง 20 เมตร มี[[ประตูกั้นชานชาลา]] (platform screen door)
** สถานียกระดับ 7 สถานี (ตั้งแต่สถานีจอมทองถึงสถานีครุใน) ยาวประมาณ 250 เมตร กว้าง 18 เมตร มี[[ประตูกั้นชานชาลา]] (Platformplatform screedscreen door) ที่สูงขึ้นมาจากพื้นระดับหนึ่ง (half height)
* '''ระบบรถไฟฟ้า''' เป็นระบบรถไฟฟ้าขนาดหนัก (heavy rail transit) มีความจุประมาณ 320 คนต่อตู้ สามารถรองรับผู้โดยสารได้ไม่น้อยกว่า 50,000 คนต่อชั่วโมงต่อทิศทาง<ref name="mrta"/>
* '''ขนาดราง''' 1.435 เมตร (standard guage) โดยมีรางที่ 3 ขนานไปกับรางวิ่งสำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับตัวรถ<ref name="mrta"/>
บรรทัด 230:
=== การสนับสนุนภาครัฐ ===
;คนพิการขึ้นรถไฟฟ้าฟรี
รถไฟฟ้ามหานคร เป็นเพียงรถไฟฟ้าโครงการเดียวเท่านั้นที่ สนับสนุนโยบายภาครัฐในการลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้ถือบัตรผู้พิการ โดยไม่คิดค่าโดยสารกับผู้ถือบัตรผู้พิการและไม่จำกัดการใช้งานและระยะทางรวมถึงระยะเวลาในการใช้สิทธิ หรือตลอดชีวิตจนกว่าผู้พิการจะถึงแก่ความตาย รวมถึงสนับสนุนการใช้ลิฟต์เพื่อผู้พิการ การลัดคิว ในกรณีเร่งเด่น ทั้งนี้ผู้พิการจำเป็นต้องแสดงบัตรทุกครั้งก่อนใช้สิทธิเหล่านี้ เพื่อให้พนักงานจดบันทึกและบอกสถานีปลายทาง อย่างไรก็ตามหากประสงค์จะเปลี่ยนสถานีกะทันหันก็สามารถกระทำได้ ผู้พิการจะมีผู้ดูแลหรือไม่ดูแลมาด้วยหรือไม่ก็ได้เพียงแต่สิทธิจะให้เพียงแต่ผู้ถือบัตรผู้พิการที่ ออกโดย[[กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ประเทศไทย)|กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์]]เท่านั้น ทั้งนี้อาศัยอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 269/1 ผู้ใดทำบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอมขึ้นทั้งฉบับหรือแต่ส่วนหนึ่งส่วนใด เติมหรือตัดทอนข้อความ หรือแก้ไขด้วยประการใดๆ ในบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่แท้จริง โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน ถ้าได้กระทำเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นบัตรอิเล็กทรอนิกส์ที่แท้จริงหรือเพื่อใช้ประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใด ผู้นั้นกระทำความผิดฐานปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้า 1-5 ปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสน 20,000-100,000 บาท มาตรา 269/4 ผู้ใดใช้หรือมีไว้เพื่อใช้ซึ่งสิ่งใดๆ ตาม มาตรา 269/1 อันได้มาโดยรู้ว่าเป็นของที่ทำปลอมหรือแปลงขึ้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงเจ็ด 1-7 ปี หรือปรับตั้งแต่ 20000 ถึง 20,000-140000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ผู้ใดจำหน่ายหรือมีไว้เพื่อจำหน่ายซึ่งสิ่งใดๆ ที่ทำปลอมหรือแปลงขึ้นตาม มาตรา 269/1 ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่ 20000 บาทถึง 20000020,000-200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ถ้าผู้กระทำความผิดตามวรรคแรกหรือวรรคสองเป็นผู้ปลอมซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ตาม มาตรา 269/1 ให้ลงโทษตามมาตรานี้แต่กระทงเดียว<ref>http://www.lawyerthai.com/law/articles.php?articleid=62&cat=714</ref>ทั้งนี้ตั้งแต่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2552 เป็นต้นไป
 
;การช่วยเหลือคนที่มีความต้องการพิเศษ
บรรทัด 237:
;การรักษาความปลอดภัยให้ประชาชน
รถไฟฟ้ามหานครในทุกสถานีมีบริการเพื่อการรักษาความปลอดภัยให้ประชาชนดังต่อไปนี้ 1.บริการปุ่มหยุดฉุกเฉินบันไดเลื่อน 2.บริการปุ่มแจ้งเหตุไฟไหม้ 3.บริการโทรศัพท์แจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย 4.บริการทางออกฉุกเฉินในสถานี 5.บริการแจ้งเหตุกับตำรวจผ่านตู้รับเรื่องร้องเรียน 6.บริการคันโยกฉุกเฉินภายในรถไฟฟ้าเพื่อเปิดประตูรถกรณีฉุกเฉิน 7.บริการอุปกรณ์ดับเพลิง 8.บริการกล้องวงจรปิดเพื่อความปลอดภัยของผู้โดยสารทั้งในสถานี และภายในรถไฟฟ้า<br>
ผู้โดยสารที่ใช้บริการตาม ข้อหนึ่ง ถึง ข้อห้า โดยไม่มี[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]ระวางโทษปรับ 100010,00 บาท<br>
ผู้โดยสารที่ใช้บริการตาม ข้อหก และข้อเจ็ด โดยไม่มี[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]] หรือใช้ตาม[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]แต่ไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำในการใช้อุปกรณ์ ระวางโทษปรับ 10001,000 บาท และ จำคุก 1 เดือน<br>
ผู้โดยสารที่ใช้บริการตามข้อหนึ่งถึงข้อเจ็ด หากมีผู้ใดฟ้องร้องในความผิดอื่นใดระวางโทษตามประมวล[[กฎหมายอาญา]]<br>
หากมี[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]เกิดขึ้นห้ามใช้ลิฟต์โดยเด็ดขาด ผู้ใดฝ่าฝืนข้อบังคับนี้จนเป็นเหตุให้ถึงแก่ความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น ระวางโทษจำคุก 1 เดือน ปรับ 10001,000 บาท<br>
อาศัยอำนาจตามประมวล[[กฎหมายอาญา]]มาตรา 374 หากมี[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]]เกิดขึ้นผู้ใดเห็นผู้อื่นตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิต ซึ่งตนอาจช่วยได้โดยไม่ควรกลัวอันตรายแก่ตนเองหรือผู้อื่น ระวางโทษจำคุก 1 เดือน ปรับ 10001,000 บาท<br>
อาศัยอำนาจตามประมวล[[กฎหมายอาญา]]มาตรา 372 ห้ามผู้ใดทะเลาะกันอย่างอื้ออึงเสียในทางสาธารณะ หรือสาธารณสถาน หรือกระทำการอื่นใดให้สูญเสียความสงบเรียบร้อย หากฝ่าฝืน มีโทษปรับ 500 บาท อาศัยอำนาจตามประมวล[[กฎหมายอาญา]]มาตรา 393 หากการกระทำนั้น เป็นการดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับ 10001,000 บาท อาศัยอำนาจตามประมวล[[กฎหมายอาญา]]มาตรา 370 ถ้าการกระทำอันเป็นการทะเลาะกัน หรือ จงใจก่อให้เกิดเสียงอื่นใดนั้นส่งผลให้ประชาชนตกใจหรือเดือดร้อน ปรับ 100 บาท อาศัยอำนาจตามประมวล[[กฎหมายอาญา]] มาตรา 373 ห้ามผู้ใดที่ควบคุมบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บุคคลวิกลจริตออกเที่ยวตามลำพัง หากฝ่าฝืน มีโทษปรับ 500 บาท <br>
ผู้โดยสารที่ ถูกประทุษร้าย ถูก[[โจร]]โจรกรรม ถูก[[การกระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล|กระทำอนาจารต่อหน้าธารกำนัล]] สามารถขอใช้บริการตรวจกล้องวงจรปิดได้
 
;การรักษาความสะอาด
รถไฟฟ้ามหานคร อยู่ภายใต้กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ว่าด้วยความปลอดภัยในชีวิตร่างกายและทรัพย์สิน การรักษาความสงบเรียบร้อยความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายในเขตระบบรถไฟฟ้า พ.ศ. 2547 หากผู้ใดฝ่าฝืนมีโทษจำคุก 1 เดือน ปรับ 10001,000 บาท
และพระราชบัญญัติ รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535<ref>http://www.baanjomyut.com/library/law/02/150.html</ref> ซึ่งหากมีผู้ใดฝ่าฝืนจะมีโทษปรับ 20002,000 บาท
ทั้งนี้อาจมีข้อบังคับอื่นๆ เช่นห้ามนำอาหารที่มีกลิ่นแรงเข้าภายในสถานีรถไฟฟ้า ห้ามรับประทานอาหารและเครื่องดื่มภายในพื้นที่ชำระเงินแล้ว ห้ามดื่ม[[สุรา]]ภายในสถานี, ห้ามทิ้งสิ่ง[[ปฏิกูล]], ห้ามถม[[น้ำลาย]], น้ำมูก, [[เสมหะ]], [[อาเจียน]], [[ปัสสาวะ]] คาย[[หมากฝรั่ง]]ภายในสถานีบริเวณสถานีอย่างเด็ดขาดหากฝ่าฝืน จะมีโทษ ตามกฎกระทรวง และพรบ.ความสะอาด จำคุก 1 เดือน ปรับ 30003,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การสูบ[[บุหรี่]]ภายในสถานีถือว่ามีความผิด มีโทษปรับ 20002,000 บาท และหากทิ้งบุหรี่ภายในสถานีจะมีโทษปรับเพิ่ม 20002,000 บาท อาศัยอำนาจตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ 19 พ.ศ. 2553 <ref>http://www.trc.or.th/upload/AT/MENU/news/infonews/Announced%20v19.pdf</ref>และพระราชบัญญัติ รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535
 
=== การตรวจค้นกระเป๋า ===
บรรทัด 289:
[[หมวดหมู่:ระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:รถไฟฟ้าในจังหวัดนนทบุรี]]
[[หมวดหมู่:รถไฟฟ้าในจังหวัดสมุทรปราการ]]
[[หมวดหมู่:รถไฟฟ้าใต้ดินในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:รถไฟลอยฟ้า]]