ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประชุมไคโร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
รูป
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
'''การประชุมไคโร''' (รหัสนามว่า '''เซ็กทันท์'''; sextant<ref name="WSC_Closing the Ring">{{cite book|last=Churchill|first=Winston Spencer|title=The Second World War: Closing the Ring |year=1951|publisher=Houghton Mifflin Company, Boston|pages=642}}</ref>) เมื่อวันที่ 22–26 พฤศจิกายน ค.ศ. 1943 จัดขึ้นในกรุง[[ไคโร]] ประเทศ[[อียิปต์]] ได้สรุปใจความถึงการเป็นพันธมิตรร่วมต่อต้านญี่ปุ่นในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]และการตัดสินใจเกี่ยวกับเอเชียหลังสงคราม ผู้ที่เข้าร่วมประชุม ได้แก่ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ [[แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์]], นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร [[วินสตัน เชอร์ชิล]] และจอมทัพ [[เจียง ไคเชก]] แห่งสาธารณรัฐจีน ผู้นำ[[โซเวียต]] [[โจเซฟ สตาลิน]]ได้ปฏิเสธที่จะเข้าร่วมการประชุมเพราะการเข้าพบกับเจียงอาจจะทำให้ส่งผลกระทบระหว่าง[[สหภาพโซเวียต]]และญี่ปุ่น([[กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น]] ค.ศ. 1941 เป็นข้อตกลงห้าปีของความเป็นกลางระหว่างสองประเทศ ใน ค.ศ. 1943 สหภาพโซเวียตไม่ได้ทำสงครามกับญี่ปุ่น เว้นแต่จีน, สหราชอาณาจักร และสหรัฐฯเท่านั้น)
 
การประชุมไคโรได้จัดตั้งขึ้นที่บ้านพักของเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำอียิปต์ Alexander Comstock Kirk ใกล้กับ[[มหาสุสานกิซา|สุสานพีระมิด]]<ref>''Life'': [https://books.google.com/books?id=1UkEAAAAMBAJ&pg=PA80& Noel F. Busch, "Alexander Kirk," August 13, 1945], accessed January 23, 2011</ref>
 
สองวันต่อมา สตาลินได้เข้าพบกับโรสเวลต์และเชอร์ชิลใน[[เตหะราน]] [[อิหร่าน]] สำหรับ[[การประชุมเตหะราน]]
 
ฝ่ายอเมริกันไม่ได้ต้องการให้ฝรั่งเศสกลับไปครองอินโดจีน ได้เสนอให้เจียง ไคเชกเข้าควบคุมอินโดจีนฝรั่งเศสไว้ทั้งหมด แต่เจียง ไคเชกได้ปฏิเสธข้อเสนอนี้ต่อหน้าสาธารณชน<ref>https://www.gale.com/binaries/content/assets/gale-us-en/primary-sources/archives-unbound/primary-sources_archives-unbound_indochina-france-and-the-viet-minh-war-1945-1954_-records-of-the-u.s.-state-department-part-1_-1945-1949.pdf</ref>
 
ปฏิญญาไคโรได้ประกาศออกไป เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน ค.ศ. 1943 และได้ปล่อยในคำแถลงการณ์ไคโรผ่านวิทยุ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1943<ref name="cairo_communique">{{cite news|url=http://www.ndl.go.jp/constitution/e/shiryo/01/002_46shoshi.html|publisher=Japan National Diet Library|title=Cairo Communique, December 1, 1943|date=December 1, 1943}}</ref> ได้ระบุถึง เจตนารมณ์ของฝ่ายสัมพันธมิตรที่จะใช้กำลังทางทหารอย่างต่อเนื่องจนกว่าญี่ปุ่นจะยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไข มาตราการหลักของปฏิญญาไคโรคือประเทศทั้งสามแห่งฝ่ายสัมพันธมิตรได้ต่อสู้รบในสงครามเพื่อขัดขวางและลงทัณฑ์ของการรุกรานของญี่ปุ่น พวกเขาไม่ได้แสวงหาผลประโยชน์เพื่อพวกเขาเอง และจะไม่เกี่ยวข้องกับสงครามการขยายดินแดนภายหลังความขัดแย้ง "ญี่ปุ่นได้แย่งชิงหมู่เกาะทั้งหมดในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งพวกเขาได้เข้ายึดหรือครอบครองตั้งแต่จุดเริ่มต้นของ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ในปี ค.ศ. 1914", "ดินแดนทั้งหมดที่ญี่ปุ่นได้แย่งชิงมาจากจีน รวมทั้ง[[แมนจูเรีย]] เกาะฟอร์โมซา([[ไต้หวัน]]) และเกาะเปสกาโดเรส([[เผิงหู]])จะต้องนำกลับคืนสู่สาธารณรัฐจีน" ญี่ปุ่นจะต้องถูกขับออกไปจากดินแดนอื่นๆทั้งหมดที่พวกเขาได้กระทำความโหดร้ายและความละโมบ และ"ในขณะเดียวกัน ประเทศเกาหลีจะได้รับการปลดปล่อยและเป็นอิสระ"
 
{{โครงส่วน}}
 
== อ้างอิง ==