ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวเหนี่ยวนำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มลิงค์
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 142:
:<math>i(t) = I e^{-\frac{R}{L}t}</math>
 
===รีแอคแตนซ์ตัวเหนี่ยวนำ===
===Reactance===
 
อัตราส่วนของแรงดันไฟฟ้าสูงสุดต่อกรแสศูงสุดในตัวเหนี่ยวนำที่ได้พลังจากแหล่งจ่ายไฟแบบซายน์จะถูกเรียกว่า reactance และมีสัญลักษณ์ว่า ''X''<sub>L</sub> คำต่อท้าย L คือการแยกความแตกต่างของ reactance รีแอคแตนซ์ของตัวเหนี่ยวนำ จาก reactance ของตัวเก็บประจุที่มีสัญลักษณ์ว่า ''X''<sub>C</sub>
:<math>X_\mathrm L = \frac {V_\mathrm P}{I_\mathrm P} = \frac {2 \pi f L I_\mathrm P}{I_\mathrm P} </math>
 
บรรทัด 150:
:<math>X_\mathrm L = 2 \pi f L </math>
 
Reactance รีแอคแตนซ์ถูกวัดในหน่วยเดียวกันกับค่าความต้านทาน (โอห์ม) แต่มันไม่ใช่ความต้านทานจริง ความต้านทานจะกระจายพลังงานความร้อนเมื่อมีกระแสไหลผ่าน สิ่งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นกับตัวเหนี่ยวนำ; สิ่งที่เกิดขึ้นคือ พลังงานจะถูกเก็บไว้ในสนามแม่เหล็กที่กระแสสร้างให้ และต่อมาถูกจ่ายกลับไปยังวงจรเมื่อกระแสลดลง reactance ของตัวเหนี่ยวนำจะขึ้นอยู่กับความถี่อย่างยิ่ง ที่ความถี่ต่ำ reactance จะมีค่าน้อย และสำหรับกระแสคงที่(ความถี่ศูนย์) ตัวเหนี่ยวนำจะทำงานเป็นลัดวงจร ในทางตรงกันข้าม เมื่อความถี่เพิ่มขึ้น reactanceอจะเพิ่มขึ้นด้วย และที่ความถี่ที่สูงพอ ตัวเหนี่ยวนำจะวิ่งเข้าสู่วงจรเปิด
 
===การวิเคราะห์วงจรของลาปลาซ (s-โดเมน)===