ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวเก็บประจุ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูล
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูลการรีแอคแตนส์ตัวเก็บประจุ
บรรทัด 52:
เป็น Capacitor ชนิดที่ไม่มีค่าคงที่ ซึ่งจะมีการนำวัสดุต่างๆ มาสร้างขึ้นเป็น Capacitor โดยทั่วไปจะมีค่าความจุไม่มากนัก โดยประมาณไม่เกิน 1 ไมโครฟารัด (m F) Capacitor ชนิดนี้เปลี่ยนค่าความจุได้ จึงพบเห็นอยู่ ในเครื่องรับวิทยุต่าง ๆ ซึ่งเป็นตัวเลือกหาสถานีวิทยุโดยมีแกนหมุน Trimmer หรือ Padder เป็น Capacitor ชนิดปรับค่าได้ ซึ่งคล้าย ๆ กับ Variable Capacitor แต่จะมีขนาดเล็กกว่า การใช้ Capacitor แบบนี้ถ้าต่อในวงจรแบบอนุกรมกับวงจรเรียกว่า Padder Capacitor ถ้านำมาต่อขนานกับวงจร เรียกว่า Trimmer.
 
===รีแอคแตนซ์===
ตัวเก็บประจุก็มีค่าความต้านทานเสมือนเช่นเดียวกับตัวเหนี่ยวนำ รีแอคแตนซ์ตัวเก็บประจุ (สัญลักษณ์ Xc) เป็นค่าต้านทานของตัวเก็บประจุทางไฟฟ้ากระแสสลับ มีหน่วยการวัดเป็นโอห์ม (Ω) แต่รีแอคแตนซ์มีความซับซ้อนมากกว่าความต้านทานเพราะค่า ของมันขึ้นอยู่กับความถี่่ (f) ของสัญญาณไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวเก็บประจุ (C)
:<math>Xc = {1\over 2\pi f C} \,</math>
Xc มีค่ามากที่ความถี่ต่ำและค่าน้อยที่ความถี่สูง เช่นตัวเก็บประจุค่า 1µF มีรีแอคแตนซ์ 3.2kΩ ที่ความถี่ 50Hz แต่ที่ความถี่สูงกว่าเช่นที่ 10kHz จะมีค่ารีแอคแตนซ์เพียง 16Ω สำหรับดีซีคงที่ซึ่งความถี่เป็นศูนย์ Xc มีค่าเป็นอนันต์ (ความต้านทั้งหมด) เป็นที่มาของกฎที่ว่า ตัวเก็บประจุยอมให้เอซี(AC)ผ่านแต่ปิดกั้นดีซี(DC)
== อ้างอิง ==
* [http://www.chontech.ac.th/~electric/html/capacitor.htm วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี]
เส้น 58 ⟶ 62:
* [http://www.english.thaiio.com/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A3/ เรียนรู้อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์เรื่องตัวเก็บประจุ]
* [http://repair-notebook.com/2009/08/05/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B8%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%8A/ ตัวเก็บประจุไฟฟ้า หรือคอนเด็นเซอร์ บน เมนบอร์ดโน้ตบุ๊ค อาการเสีย ]
* https://www.icelectronic.com/beginner/study/capacit.htm ค่าความจุและการใช้ตัวเก็บประจุ
 
 
[[หมวดหมู่:ตัวเก็บประจุ]]