ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาถิ่นพิเทน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงพิเทน''' เป็นภาษาถิ่นย่อยของ[[สำเนียงตากใบ|ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงตากใบ]]ถิ่นย่อยถิ่นหนึ่ง ที่ใช้จำเพาะอยู่ในชาวไทยมุสลิมใน[[ตำบลพิเทน]] [[อำเภอทุ่งยางแดง]] และ[[ตำบลกะรุบีจังหวัดปัตตานี]] มีลักษณะพิเศษคือเป็นภาษาไทยภาคกลางปน[[อำเภอกะพ้อภาษาไทยถิ่นใต้|ถิ่นใต้]] [[จังหวัดปัตตานี]] โดยสำเนียงพิเทนมีระบบวรรณยุกต์แตกต่างไปจากกลุ่มตากใบการใช้คำราชาศัพท์ร่วมด้วย และมีแนวโน้มว่ายืม[[ภาษามลายูปัตตานี|คำมลายู]]จะเข้าใช้แทนที่ในที่สุด<ref>http://dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//01558/Chapter2เสียมาก (25-60).pdf</ref> จากการศึกษาพบว่าภาษาถิ่นปัจจุบันสำเนียงพิเทนกำลังสูญไปและแทนที่ด้วยภาษามลายูปัตตานีมีคำยืมและคำใช้ด้วยกันถึง 97%<ref>http://soreda.oas.psu.ac.th/show_detail.php?research_id=64</ref>
 
== ประวัติ ==
== ลักษณะของของสำเนียงพิเทน ==
ผู้ใช้สำเนียงพิเทนเชื่อว่าตนมีบรรพบุรุษอพยพมาจาก[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref name= "พิเทน">{{cite web |url= http://www.piten.go.th/html/menu-2.asp?action=2&id=78 |title= ประวัติความเป็นมา |author=|date=|work= องค์การบริหารส่วนตำบลพิเทน |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref><ref name= "ประพนธ์">ประพนธ์ เรืองณรงค์. ''บุหงาปัตตานี คติชนมุสลิมชายแดนภาคใต้''. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาพรบุ๊คส์, 2554, หน้า 203-207</ref><ref name= "ไทยรัฐ">{{cite web |url= https://www.thairath.co.th/content/11158 |title= ตำนานบ้านพิเทน |author= บาราย |date= 7 มิถุนายน 2552 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> ตามมุขปาฐะนั้นว่าบรรพบุรุษได้เดินทางลงมาทางใต้เพื่อตามหาช้างสำคัญของ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ซึ่งผู้นำในการติดตามช้างสำคัญนั่นคือพี่เณร (หรือโต๊ะหยัง) แต่การติดตามช้างสำคัญนั้นไม่สำเร็จ ด้วยเกรงกลัวพระราชอาญาจึงหลบลี้ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในป่า อันเป็นที่มาของชื่อ[[ตำบลพิเทน]]ซึ่งเพี้ยนมาจากชื่อของพี่เณรนั้นเอง<ref name= "พิเทน"/><ref name= "ไทยรัฐ"/><ref>{{cite web |url= http://www.thaitambon.com/tambon/940602 |title= ข้อมูลตำบลพิเทน อำเภอทุ่งยางแดง ปัตตานี |author=|date=|work= ไทยตำบลดอตคอม |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> ลูกหลานที่สืบสันดานลงมาก็แต่งงานกับคนท้องถิ่นและเข้ารับอิสลาม<ref name= "ประพนธ์"/> ส่วนสุสานพี่เณรตั้งอยู่ที่บ้านควน หมู่ 2 ตำบลพิเทนในปัจจุบัน<ref name= "พิเทน1"/>
สำเนียงพิเทนเป็นรอยต่อระหว่าง[[ภาษาไทยถิ่นใต้]] กับสำเนียงตากใบ พร้อมกับอิทธิพลของภาษามลายูปัตตานีที่รายล้อม ทำให้สำเนียงพิเทนเกิดการผสมผสานระหว่างภาษาไทยถิ่นใต้กับภาษาตากใบ และได้นำคำมลายูปัตตานีมาใช้ จนภาษามลายูปัตตานีมีอิทธิพลมากต่อภาษาถิ่นพิเทน<ref>http://soreda.oas.psu.ac.th/show_detail.php?research_id=63</ref>
# ลักษณะโครงสร้างของคำ และการสร้างคำในภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทนเพื่อนำมาเปรียบเทียบกับภาษาไทยมาตรฐาน จะเห็นได้ว่า
## ภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทน มีโครงสร้างของคำพยางค์เดียว และคำสองพยางค์เหมือนกับภาษาไทยมาตรฐาน
## ภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทน มีลักษณะการสร้างคำซ้ำ คำซ้อนและคำประสมเหมือนกับภาษาไทยมาตรฐาน
## การเรียงลำดับคำ คำบางคำในภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทนจะเรียงลำดับคำสับที่กับภาษาไทยมาตรฐาน
## การสร้างคำภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทนบางคำ จะนำเอาภาษามลายูท้องถิ่นปัตตานีมาประสมกับคำภาษาไทย
# เรื่องคำและความหมายภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทน เมื่อเอาคำและความหมายมาเปรียบเทียบกับภาษาไทยถิ่นใต้ทั่วไป ผลของการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่า การใช้คำภาษาไทยถิ่นใต้แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ คำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันกับภาษาไทยถิ่นใต้ทั่วไป และคำศัพท์ที่ใช้ต่างกันกับภาษาไทยถิ่นใต้ทั่วไป
# เปรียบเทียบคำและความหมายภาษาไทยถิ่นใต้ทั่วไป กับภาษาไทยมาตรฐานซึ่งพอจะสรุปลักษณะการใช้คำในภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทนได้ดังนี้
## คำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันและความหมายตรงกัน
## คำศัพท์ที่ใช้ร่วมกันแต่ความหมายต่างกัน
## คำศัพท์ที่ใช้ต่างกันแต่ความหมายเดียวกัน
 
สำเนียงพิเทนเป็นภาษาถิ่นที่ใช้เฉพาะตำบลพิเทนเท่านั้น<ref name= "พิเทน1"/><ref>{{cite web |url= http://hhdpiten.blogspot.com/p/blog-page.html |title= ข้อมูลทั่วไปตำบลพิเทน |author=|date= |work= โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพิเทน |publisher=|accessdate= 27 เมษายน 2561 }}</ref> เฉพาะในกลุ่มชาวไทยมุสลิม<ref>{{cite web |url= https://prachatai.com/journal/2015/04/58680 |title= โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้: ย้อนอดีตบ้านโต๊ะชูด ย้อนรอยโมเดลทุ่งยางแดง |author=|date= 1 เมษายน 2558 |work= ประชาไท |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป แต่ปัจจุบันนี้สำเนียงพิเทนดังกล่าวใกล้สูญหายและไม่เป็นที่นิยมใช้ เพราะชนนิยมใช้ภาษามลายูปัตตานีมากกว่า<ref name= "พิเทน"/>
== อิทธิพลของภาษามลายูต่อสำเนียงพิเทน ==
การนำคำภาษามลายูท้องถิ่นปัตตานี มาใช้ในภาษาถิ่นใต้ตำบลพิเทนเป็นอันมาก ทำให้ภาษาถิ่นใต้ตำบลพิเทนได้รับอิทธิพลทั้งด้านเสียงและคำจากภาษามลายูท้องถิ่นปัตตานีอีกด้วย ภาษาถิ่นพิเทนที่มีใช้ในปัจจุบันนี้ได้รับอิทธิพลจากภาษามลายูปัตตานีในด้านต่างๆ ได้แก่
* อิทธิพลด้านเสียง
* อิทธิพลด้านคำ
** คำยืม
** การสร้างคำ
 
== ลักษณะ ==
== สำเนียงพิเทนในปัจจุบัน ==
สำเนียงพิเทนนั้นจะมีลักษณะพิเศษคือเป็นภาษาไทยภาคกลางปนถิ่นใต้ มีการใช้คำราชาศัพท์<ref name= "พิเทน"/><ref name= "ประพนธ์"/><ref name= "ไทยรัฐ"/> แต่เรียงคำต่างจากภาษาไทยภาคกลางและใต้<ref name= "เจริญ">{{cite web |url= http://soreda.oas.psu.ac.th/show_detail.php?research_id=63 |title= การศึกษาคำและความหมายในภาษาไทยถิ่นใต้ตำบลพิเทน กิ่งอำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี |author= เจริญ สุวรรณรัตน์ |date=|work= ฐานข้อมูลวิจัยชายแดนใต้ |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> และยืมคำมลายูมากถึงร้อยละ 97<ref>{{cite web |url= http://soreda.oas.psu.ac.th/show_detail.php?research_id=64 |title= คำยืมภาษามลายูท้องถิ่นปัตตานีในภาษาไทยถิ่น 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ |author= สุภา วัชรสุขุม |date=|work= ฐานข้อมูลวิจัยชายแดนใต้ |publisher=|accessdate= 31 มิถุนายน 2560 }}</ref> ดังนั้นผู้ที่จะพูดภาษานี้ได้ต้องเข้าใจทั้งภาษาไทยและมลายูปัตตานี<ref name= "ไทยรัฐ"/>
ปัจจุบันคนในตำบลพิเทนพูดภาษาไทยถิ่นพิเทนน้อยลง ส่วนมากจะใช้ภาษามลายูปัตตานีในชีวิตประจำวัน ตามความนิยมของผู้ใช้ภาษาส่วนใหญ่ การใช้ภาษาเดิมของถิ่นนี้มีคงมีใช้กันบางหมู่บ้านเช่น หมู่ 2,3 และ 4 ผู้ที่สามารถใช้สำเนียงพิเทนได้ดีคือผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป อายุน้อยกว่านี้บางคนไม่ยอมพูดภาษาของตน หรือพูดได้ก็ยังไม่ดีเท่าที่ควร เพราะคำศัพท์บางคำไม่สามารถบอกได้ว่าภาษาเดิมใช้ว่าอย่างไร และจะใช้คำศัพท์ในภาษามลายูปัตตานีแทน จนคิดว่าภาษามลายูปัตตานีเป็นของตนเอง
 
สำเนียงพิเทนจะมีลักษณะคือ โครงสร้างของคำพยางค์เดียว สองพยางค์ คำซ้ำ คำซ้อนจะเหมือนภาษาไทยมาตรฐาน แต่ต่างกันคือการลำดับคำไม่ตรงกัน นอกจากนี้ยังมีการโดยนำคำมลายูและคำไทยมารวมกันเพื่อสร้างคำใหม่<ref name= "เจริญ"/> เช่น กือสาร แปลว่าข้าวสาร และปลากือริง แปลว่าปลาแห้ง<ref name= "พิเทน1">{{cite web |url= http://district.cdd.go.th/thungyangdaeng/about-us/ประวัติความเป็นมา/ |title= ประวัติความเป็นมา |author=|date= 4 ตุลาคม 2559 |work= สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี |publisher=|accessdate= 27 เมษายน 2561 }}</ref> นอกจากนี้ยังพบว่ามีการนำคำมลายูปัตตานีมาเป็นจำนวนมาก สำเนียงพิเทนจึงรับอิทธิพลด้านเสียงและคำจากภาษามลายูปัตตานี<ref name= "เจริญ"/>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
{{มรดกภูมิปัญญาชาติ/ภาษา}}