ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันไหล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
แต่เดิมมีชื่อเรียกว่า '''ประเพณีก่อพระทรายน้ำไหล''' คือ เป็นวันทำบุญขึ้นปีใหม่ของชาว[[ภาคตะวันออก]] โดยจะกำหนดหลัง[[วันมหาสงกรานต์]]ประมาณ 5-6วัน ชาวบ้านจะนิยมก่อพระเจดีย์ทรายถวายเป็นพุทธบูชา การก่อพระเจดีย์ทรายก็คือการขนทราย หาบทรายมากองสูงแล้วรดน้ำเอาไม้ปั้นกลึงเป็นรูปทรงเจดีย์ ปักธงทิวต่าง ๆ ตกแต่งกันอย่างวิจิตบรรจง องค์ใหญ่บ้าง เล็กบ้าง สุดแต่กำลัง บ้างก็ทำเป็นกรวยเล็ก ๆ เพื่อก่อให้ครบ ๘๔,๐๐๐ กอง เท่าจำนวนพระธรรมขันธ์ เมื่อก่อเสร็จพระเจดีย์ทรายแต่ละกองก็จะมีธงทิว พร้อมด้วยผ้าป่า ตลอดจนสมณบริขารถวายพระ พระสงฆ์ก็จะพิจารณาบังสุกุล ทำบุญเลี้ยงพระ เลี้ยงพระเสร็จก็เลี้ยงคนที่ไปร่วมงานเป็นการสนุกสนานในเทศกาลตรุษ ผลที่ได้เมื่องานเสร็จแล้ว ทางวัดก็ได้ทรายไว้สำหรับสร้างเสนาสนะ ปูชนียสถานในวัดหรือถมบริเวณวัดพระสงฆ์ก็ได้เครื่องปัจจัยไทยธรรมต่าง ๆ เทศกาลตรุษไทย คือ เดือน ๕ ขึ้น ๑ ค่ำ ตรุษสงกรานต์ ปกติหลังตรุษไทยไปเล็กน้อยเป็นปลายฤดูร้อนจะย่างเข้าฤดูฝน วัดใดที่ใกล้ห้วย หนอง คลอง บึง ญาติโยมอุบาสกอุบาสิกา วัดก็จัดประเพณีก่อพระทรายน้ำไหลขึ้น วิธีการก็คือขุดลอกทรายที่ฝนซัดไหลมาลงรวมขังอยู่ตามคลอง หนอง บึง เป็นการขนทรายเข้าวัด และเป็นการพัฒนาท้องถิ่นด้วย การรวมแรงคนเพื่อร่วมบุญขุดลอก คลอง หนอง บึง ให้สะอาด เมื่อถึงฤดูฝน น้ำฝนจะได้ไหล สะดวก คู คลอง หนอง บึง ไม่ตื้นเขิน หมู่บ้านสะอาด น้ำก็ไหลได้ตามปกติ ไม่ขังเจิ่งท่วมที่นั่นที่นี่ นี่คือประโยชน์ที่ได้จากการก่อพระทรายน้ำไหลในเทศกาลตรุษ งานประเพณีนี้ชี้ให้เห็นความเจริญของวัฒนธรรมในท้องถิ่นเป็นอย่างดี แต่ด้วยสภาพของบ้านเมืองได้เปลี่ยนแปลงไป ความเจริญทางวิทยาการใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น การขนทราย โกยทราย หาบทราย เข้าวัดคนละหาบสองหาบก็เปลี่ยนสภาพมาเป็นซื้อทรายเป็นรถ ๆ ขนกันอย่างสะดวกสบาย และหลายวัดก็หมดความจำเป็นที่จะต้องใช้ทราย คู คลอง หนอง บึง ที่ทรายเคยซัดไหลมารวมกันก็ตัดเป็นถนนแปรสภาพจาก คู คลอง หนอง บึง ไปเกือบหมด จนแทบไม่มีการลอก คู คลอง หนอง บึง ในบริเวณใกล้ ๆ วัด งานก่อพระทรายน้ำไหลในเทศกาลตรุษก็เปลี่ยนสภาพไป วัดต่าง ๆ หลายวัดไม่มีเจดีย์เป็นพุทธบูชา มีแต่เจดีย์ใส่กระดูกผี คำว่าเจดีย์ทรายก็หมดความหมายไป ก่อพระทรายเอาบุญก็เปลี่ยนสภาพไปพัฒนาไปตามกาลเวลา ก่อพระทรายน้ำไหล จึงเรียกสั้น ๆ ลงเหลือแค่ “วันไหล” หรือ “ประเพณีวันไหล”<ref>https://www.facebook.com/saensukcity/posts/976945972393838</ref>
 
=== จังหวัดชลบุรี===
==== เมืองชลบุรี ====
{| class="wikitable" style="margin: 1em auto 1em auto;"
| colspan="3" style="text-align: left;" | *'''งานนมัสการพระพุทธสิหิงค์ฯ และงานสงกรานต์''' จังหวัดชลบุรี ซึ่งเปรียบเสมือนงานประจำปีของจังหวัดชลบุรี เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อปี 2475 ภายหลังจากคณะราษฎร์ได้ยึดอำนาจการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า "งานฉลองสันติภาพ" ซึ่งจัดขึ้นโดยสโมสรคณะราษฎร์ประจำจังหวัดชลบุรี เพื่อร่วมกันชื่นชมยินดีที่บ้านเมืองเข้าสู่ความเป็นปกติสุขภายหลังจากมีการก่อเหตุความวุ่นวายภายในบ้านเมืองอันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง งานปีนี้ ได้จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ มากมายเหมือนทุกปี อาทิ งานนมัสการพระพุทธสิหิงค์ฯ พระคู่บ้านคู่เมืองชลบุรี การทำบุญ-สรงน้ำพระ การออกร้านของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และอำเภอ การจัดแสดงนิทรรศการโบราณวัตถุและศิลปวัฒนธรรมไทย การจัดริ้วขบวนแห่ฉลองสงกรานต์ที่ยิ่งใหญ่ การประกวดนางสงกรานต์ การแข่งขันกีฬาไทยและกีฬาพื้นเมือง ประกอบด้วย การแข่งขันศิลปะมวยไทย การแข่งขันเซปักตระกร้อ และตระกร้อลอดบ่วง การจำหน่ายสินค้า OTOP และสินค้าราคาถูกจากโรงงานอุตสาหกรรม การแสดงทางศิลปวัฒนธรรมรวมทั้งมหรสพไทย-จีน อาทิ ภาพยนตร์จอยักษ์ ลิเก งิ้ว การแสดงคอนเสิร์ตศิลปินดังทุกคืน <ref>http://www.bangsaensook.com/NEWS/6004-Songkran-Chonburi-2560.html</ref>
|-
 
|-
| rowspan="2" colspan="2" style="text-align: center;" | TAB
|<Center>'''งานนมัสการพระพุทธสิหิงส์และงานสงกรานต์จังหวัดชลบุรี'''
|-
| <Center>
<center> 11 เม.ย.-19เม.ย / สนามศาลากลางเมืองชลบุรี</center>
|-
| colspan="3" style="text-align: left;" | งานนมัสการพระพุทธสิหิงค์ฯ และงานสงกรานต์ จังหวัดชลบุรี ซึ่งเปรียบเสมือนงานประจำปีของจังหวัดชลบุรี เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อปี 2475 ภายหลังจากคณะราษฎร์ได้ยึดอำนาจการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย ชาวบ้านเรียกกันติดปากว่า "งานฉลองสันติภาพ" ซึ่งจัดขึ้นโดยสโมสรคณะราษฎร์ประจำจังหวัดชลบุรี เพื่อร่วมกันชื่นชมยินดีที่บ้านเมืองเข้าสู่ความเป็นปกติสุขภายหลังจากมีการก่อเหตุความวุ่นวายภายในบ้านเมืองอันนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง งานปีนี้ ได้จัดให้มีกิจกรรมต่างๆ มากมายเหมือนทุกปี อาทิ งานนมัสการพระพุทธสิหิงค์ฯ พระคู่บ้านคู่เมืองชลบุรี การทำบุญ-สรงน้ำพระ การออกร้านของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และอำเภอ การจัดแสดงนิทรรศการโบราณวัตถุและศิลปวัฒนธรรมไทย การจัดริ้วขบวนแห่ฉลองสงกรานต์ที่ยิ่งใหญ่ การประกวดนางสงกรานต์ การแข่งขันกีฬาไทยและกีฬาพื้นเมือง ประกอบด้วย การแข่งขันศิลปะมวยไทย การแข่งขันเซปักตระกร้อ และตระกร้อลอดบ่วง การจำหน่ายสินค้า OTOP และสินค้าราคาถูกจากโรงงานอุตสาหกรรม การแสดงทางศิลปวัฒนธรรมรวมทั้งมหรสพไทย-จีน อาทิ ภาพยนตร์จอยักษ์ ลิเก งิ้ว การแสดงคอนเสิร์ตศิลปินดังทุกคืน <ref>http://www.bangsaensook.com/NEWS/6004-Songkran-Chonburi-2560.html</ref>
|-
|}
 
 
เส้น 22 ⟶ 13:
<br>4. การรดน้ำดำหัวผู้สูงอายุ
<br>5. การประกวดนางสงกรานต์และ การเล่นน้ำสงกรานต์ในบรรยากาศชายทะเล
 
 
== กิจกรรมงานวันไหลวันที่ 17 เมษายน ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/วันไหล"