ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาชูปิกชู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2ndoct (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มอ้างอิง อัพเดทข้อมูล
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 10:
}}
 
'''มาชูปิกชู''' ([[ภาษาเกชัว|เกชัว]]: Machu Picchu) หรือนิยมเรียกอีกชื่อว่า '''เมืองสาบสูญแห่งอินคา''' เป็นซากอารยธรรมโบราณของชาว[[อินคา]] ตั้งอยู่บนเทือกเขาสูงใน[[ประเทศเปรู]] ที่ความสูงประมาณ 2,350 เมตร<ref name="unesco" /><ref name="UNESCO WHC">UNESCO World Heritage Centre.</ref> อารยธรรมแห่งนี้ได้ถูกลืมโดยคนภายนอกจนกระทั่งมีการค้นพบอีกครั้งโดยนักโบราณคดีที่ชื่อ [[ไฮแรม บิงแฮม]] เมื่อ พ.ศ. 2454
มาชูปิกชูเป็นหลักฐานที่สำคัญของ[[จักรวรรดิอินคา]] ในปี พ.ศ. 2526 [[องค์กรยูเนสโก]]ได้กำหนดมาชูปิกชูให้เป็น[[มรดกโลก]] โดยทำให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่คนนิยมไปศึกษาประวัติศาสตร์
 
[[7 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2550]] มาชูปิกชูได้รับเลือกให้เป็นหนึ่งใน[[เจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่]] จากการลงคะแนนทั่วโลกทั้งทาง[[อินเทอร์เน็ต]]และ[[โทรศัพท์มือถือ]]<ref>{{Cite web|url=https://world.new7wonders.com/|title=Home {{!}} Creating Global Memory|website=New7Wonders of the World|language=en-US|access-date=2017-10-25}}</ref>
 
== ประวัติ ==
มาชูปิกชู คาดว่าสร้างขึ้นราวปี ค.ศ. 1450<ref name=":0">{{Cite book|url=https://books.google.com/?id=bBHrWwtr_pYC&pg=PR7&dq=history+of+machu+picchu#v=onepage&q=history%20of%20machu%20picchu&f=false|title=Machu Picchu: Unveiling the Mystery of the Incas|last=Burger|first=Richard L.|last2=Salazar|first2=Lucy C.|date=2004|publisher=Yale University Press|isbn=0300097638|language=en}}</ref> โดย[[จักรพรรดิปาชากูตี]]ของชาวอินคา<ref>{{cite web|url=http://whc.unesco.org/en/list/274|title=Historic Sanctuary of Machu Picchu|publisher=UNESCO World Heritage Centre|accessdate=2012-05-06}}</ref> มาชูปิกชู ถูกปล่อยทิ้งไว้นับร้อยปี เพราะชาวสเปนได้เข้ามาล่าอาณานิคม และฆ่าชาวเปรูและชาวอินคา เมืองอินคาเลยถูกปล่อยร้างไว้<ref name=":0" /> แต่[[ไฮแรม บิงแฮม]]ค้นพบเมืองร้างแห่งนี้เมื่อปีคศ. 1911 แล้วแพร่ข่าวไปทั่วโลก
 
== ที่ตั้ง ==
บรรทัด 24:
จากยอดเขา ณ หน้าผามาชูปิกชู เป็นหน้าผาที่มีลักษณะดิ่งชันสูงถึง 600 เมตรจากฐานที่เป็นแม่น้ำคือ [[แม่น้ำอารูบัมบา]] ที่ตั้งของตัวเมืองนับเป็นความลับทางการทหารก็เนื่องจากการเป็นหน้าผาสูงชันที่มีอันตรายที่เป็นปราการป้องกันธรรมชาติอันยอดเยี่ยมนั่นเอง
 
ในปี พ.ศ. 25462560 มีผู้คนประมาณ 4001,000411,279 คน ไปท่องเที่ยวที่มาชูปิกชู<ref>{{cite web |url=http://datosturismo.mincetur.gob.pe/appdatosTurismo/frmReporte.aspx?id=224 |title=Cusco: Llegada de visitantes al Santuario Histórico de Machu Picchu |publisher=[[MINCETUR]] |date=December 2017 |accessdate=22 March 2018}}</ref> และยูเนสโกได้ส่งข้อความสารแสดงถึงความเสียหายจากนักท่องเที่ยวที่ไปเป็นจำนวนมาก แต่ทางผู้มีอำนาจของทางเปรูบอกว่าเรื่องนั้นไม่ใช่ปัญหา แต่ถึงอย่างไรการคัดค้านนั้นทำให้มีการเรียกเก็บเงินจากผู้ที่ไปเที่ยวชมและจำกัดจำนวนผู้เช้าชม และได้มีการเสนอให้ติดตั้ง[[รถกระเช้า]]<ref name="BBC1">{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/americas/6292327.stm|title=Bridge stirs the waters in Machu Picchu|date=2007-02-01|access-date=2016-06-07 |publisher=[[BBC News Online]]}}</ref> แต่ข้อเสนอนี้ถูกปฏิเสธอยู่ตลอดและดูไม่มีทางจะเป็นไปได้ทุกที<ref name=test>[https://web.archive.org/web/20040818065057/http://www.sacredland.org/world_sites_pages/M_Picchu.html Global Sacred Lands: Machu Picchu] Sacredland.org, Sacred Land Film Project.</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 30:
 
== อ้างอิง ==
{{reflist}}
* Bingham, Hiram. 1979 [1930]. ''Machu Picchu a Citadel of the Incas''. Hacker Art Books, New York.
* Burger, Richard and Lucy Salazar (eds.). 2004. ''Machu Picchu: Unveiling the Mystery of the Incas''. Yale University Press, New Haven.