ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระซู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Work.kitanon (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 134:
and Rhino Research Symposium, Vienna, June 7–11, 2001 | publisher = Scientific Progress Reports | year = 2001 | title = Conservation Programs for Sumatran and Javan Rhino in Indonesia and Malaysia | last = van Strien | first = Nico J. }}</ref> นอกจากนี้แล้ว [[ไซเตส]]ได้จัดกระซู่อยู่ในบัญชีอนุรักษ์หมายเลข 1 และกระซู่เป็น[[สัตว์ป่าสงวน]]ของไทยตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า [[พ.ศ. 2535]]
 
การล่ากระซู่นั้นเป็นปัญหาน้อยกว่าการล่าแรดแอฟริกา (ในแง่ของจำนวนสัตว์ที่ถูกฆ่า) แต่ก็ยังน่าเป็นห่วงเพราะผู้ค้าชอบคาดว่าถ้ากระซู่สูญพันธุ์แล้วราคานอของกระซู่จะมีราคาสูงถึง $30,000 ต่อกิโลกรัม<ref name=Dinerstein/> เพราะความต้องการที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว พรานชาวยุโรปไม่ค่อยจะสนใจล่ากระซู่นักเพราะยากต่อการค้นหาและล่า (นักวิจัยในพื้นที่หนึ่งเสียเวลาไปเจ็ดสัปดาห์ในบังไพรใกล้โป่งโดยที่ไม่พบกระซู่เลย) นายพรานจึงมักใช้กับดักหอกหรือหลุมดัก ในคริสต์ทศวรรษ 1970 มีบันทึกถึงการใช้ชิ้นส่วนของแรดในประชากรของสุมาตรา เช่น ใช้นอทำเครื่องรางโดยมีความเชื่อผิดๆว่าป้องกันพิษได้ เนื้อแรดใช้เป็นยารักษาอาการ[[ท้องเสีย]] [[โรคเรื้อน]] และ [[วัณโรค]] "น้ำมันแรด" ที่ทำจากการต้มกะโหลกแรดในน้ำมันมะพร้าวเป็นเวลาสองสามสัปดาห์อาจจะใช้ในการรักษาโรคผิวหนัง ขอบเขตในการใช้งานและความเชื่อในการกระทำนี้ยังไม่เป็นที่ทราบ<ref name=LitStud/><ref name=Foose/><ref name=Borner>{{Cite book | author = Borner, Markus | year = 1979 | title = A field study of the Sumatran rhinoceros Dicerorhinus sumatrensis Fischer, 1814: Ecology and behaviour conservation situation in Sumatra | publisher = Zurich : Juris Druck & Verlag | isbn = 3260046003 }}</ref> มีความเชื่อหนึ่งเชื่อว่านอแรดเป็น[[ยาโป๊]]ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว[[การแพทย์แผนจีน]]ไม่ได้ใช้นอแรดเพื่อวัตถุประสงค์นั้น<ref name=Dinerstein/> ความจริงแล้วนอแรดมีคุณสมบัติเป็นยาแก้ปวด<ref name="สารคดี" />
 
 
ป่าดิบชื้นในอินโดนีเซียและมาเลเซียซึ่งเป็นถิ่นอาศัยของกระซู่นั้น เป็นเป้าหมายของอุตสาหกรรมป่าไม้ทั้งที่ถูกกฎหมายและผิดกฎหมายเนื่องมาจากเป็นแหล่งไม้เนื้อแข็ง ไม้หายากอย่าง [[หลุมพอทะเล]] (merbau) ไม้สกุลสยา (meranti) และ ไม้สกุลขนุนนก (semaram) เป็นที่ต้องการในตลาดมีราคาถึง $1,800&nbsp;ต่อ&nbsp;ม.<sup>3</sup> การบังคับใช้กฎหมายทำได้ยากเพราะมนุษย์อาศัยอยู่ในหรือใกล้เคียงกับป่าหลายแห่งเหมือนกับกระซู่ เหตุการณ์[[แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547]]เป็นการสนับสนุนให้เกิดการตัดไม้ครั้งใหม่ แม้ว่าไม้เนื้อแข็งในป่าดิบชื้นที่กระซู่อาศัยอยู่สำหรับตลาดนั้นได้กำหนดไว้แล้ว และการก่อสร้างในประเทศไม่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายนัก แต่จำนวนใบอนุญาตในการตัดไม้เหล่านี้กลับเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเพราะ[[คลื่นสึนามิ]]<ref name="Habitat loss"/>
 
=== กระซู่ในกรงเลี้ยง ===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระซู่"