ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พืดหินปะการัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
แนวปะการังแบ่งออกได้เป็น 3 แบบด้วยกัน คือ
 
1.แนวปะการังนอกฝั่ง (Barrier reef) เป็นแนวปะการังขนาดใหญ่โต มีความกว้างยาวนับเป็นร้อย ๆ ไมล์ ซึ่งเกรตแบร์ริเออร์รีฟเช่น นับเป็นแนวปะการังแบบนี้ ไม่พบใน[[น่านน้ำไทยเกรตแบร์ริเออร์รีฟ]]
 
2.[[อะทอลล์|เกาะปะการัง]] (Atoll) เกิดขึ้นจากการรวมตัวทับถมกันของปะการังในแนวดิ่งจนกลายสภาพเป็น[[เกาะ]] ซึ่งเกาะลักษณะเช่นนี้ จะพบมากในแถบ[[มหาสมุทรแปซิฟิก|มหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้]] และ[[มหาสมุทรอินเดีย]] เช่น [[มัลดีฟส์]], [[หมู่เกาะสิมิลัน]] และ[[Sipadan|เกาะสีปาดัน]] ของ[[มาเลเซีย]] เป็นต้น
 
3.แนวปะการังชายฝั่ง (Fringing reef) เป็นแนวปะการังที่เกิดขึ้นในบริเวณ[[ชายฝั่ง]]และ[[หมู่เกาะ]]ในเขตน้ำค่อนข้างตื้น พบมากในประเทศไทย
 
== ในน่านน้ำไทย ==
สำหรับในน่านน้ำไทย จัดเป็นแนวปะการังชายฝั่ง มีการศึกษาว่า[[วิวัฒนาการ]]การก่อตัวของแนวปะการังน้ำตื้นที่อ่าวตังเข็น [[จังหวัดภูเก็ต]] พบว่าแนวปะการังที่นั่นเริ่มก่อตัวที่ปีกอ่าวที่เป็นโขดหินตั้งแต่ประมาณ 6,000 ปีที่แล้ว โดยแนวปะการังค่อย ๆ ก่อตัวยื่นขยายออกไปในทะเลเรื่อย ๆ ซึ่งในปัจจุบันแนวปะการังแห่งนี้ลึกสุดประมาณ 5 เมตร แนวปะการังที่นับว่ามีวิวัฒนาการมาช้านานน่านน้ำไทย ได้แก่ แนวปะการังตาม[[หมู่เกาะสุรินทร์]] และหมู่เกาะสิมิลัน แนวปะการังทั้ง 2 แห่งนี้ก่อตัวเป็นแนวขนาดใหญ่และในหลายจุดก่อตัวลึกถึงพื้นระดับประมาณ 30 เมตร
 
และอาจแบ่งตามลักษณะสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันเป็น 4 รูปแบบด้วยกัน คือ
เส้น 28 ⟶ 25:
4.แหล่งกัลปังหาและปะการังอ่อน ไม่เชิงเป็นแนวปะการัง มีศักยภาพในการเป็นที่หลบภัยและที่อยู่อาศัยของ[[สัตว์น้ำ]]ไม่มากนัก จึงไม่ค่อยมีคุณค่าเท่าใดนักในระบบนิเวศ เพราะชนิดของปะการังแบบนี้ เป็น ปะการังบนโขดหิน, [[ปะการังอ่อน]] และ[[กัลปังหา]] แต่กลับทรงคุณค่าอย่างยิ่งในแง่การ[[ท่องเที่ยว]] เพราะเป็นจุดสนใจอย่างยิ่งของนักดำน้ำและช่างภาพใต้น้ำ
 
== ชีววิทยา ==
แนวปะการังนับว่าเป็นสิ่งมีความสำคัญต่อระบบนิเวศทางทะเล เป็นที่หลบพัก, อาศัย, แพร่ขยายพันธุ์ และหากินของสัตว์ทะเลชนิดต่าง ๆ มีปลาหลากหลายที่อาศัยอยู่ในแนวปะการังมากกว่า 4,000 ชนิด<ref>Spalding, Mark, Corinna Ravilious, and Edmund Green. 2001. ''World Atlas of Coral Reefs''. Berkeley, CA: University of California Press and UNEP/WCMC.</ref> โดย[[ปลากระดูกแข็ง]]ขนาดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่พบได้ในแนวปะการัง คือ [[ปลาหมอทะเล]] (''Epinephelus lanceolatus'')<ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9550000027299 ปลาเก๋าและปลาหมอทะเล / วินิจ รังผึ้ง จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> ซึ่งเป็น[[ปลาเศรษฐกิจ]]สำคัญ รวมทั้งปลาและสัตว์น้ำชนิดต่าง ๆ อีกด้วย เปรียบเหมือนเป็น[[ป่าดิบชื้น]]หรือโอเอซิสในทะเล <ref>[http://www.moohin.com/activity/driving79.shtml รู้จักกับแนวปะการัง]</ref> <ref>[http://www.dmcr.go.th/marinecenter/coral-lesson7.php ความสำคัญของแนวปะการังที่เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของมนุษย์]</ref>
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Coral reefs|แนวปะการัง}}
 
== อ้างอิง ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Coral reefs|แนวปะการัง}}
{{รายการอ้างอิง}}