ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามังระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
* บุกเข้าไปในเขตอัสสัมของอินเดีย (พ.ศ. 2318–2319) ชนะ
* กรุงธนบุรี (พ.ศ. 2318–2319) ไม่ทราบผลเนื่องจากสวรรคตก่อน
[[File:Gezicht op Judea, de hoofdstad van Siam Rijksmuseum SK-A-4477.jpeg|thumb|อโยธยาศรีรามเทพนคร, พ.ศ. 2208 โดย Johannes Vingboons ]]
 
== ศึกกับอาณาจักรอยุธยา ==
{{บทความหลัก|การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง}}
บรรทัด 51:
== สงครามจีน-พม่า ==
{{บทความหลัก|สงครามจีน-พม่า}}
[[ไฟล์:War สงคราม.png|thumb|200px|พระเจ้ามังระ ปะทะ จักรพรรดิเฉียนหลง]]
[[ไฟล์:Third Qing Burmese war.PNG|thumb|300200px|การเดินทัพในสงครามจีน-พม่าของหมิงรุ่ย(บุกครั้งที่3)]]
สงครามจีน-พม่า เริ่มขึ้นเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2308 มีเหตุมาจากความขัดแย้งระหว่างพม่ากับจีนในเรื่องหัวเมืองไทใหญ่ ซึ่งกองทัพพม่าได้ยกเข้าดินแดนไทใหญ่และรุกคืบไปเรื่อยๆ ทำให้พวกเจ้าฟ้าไทใหญ่ได้ไปขอความช่วยเหลือจากจีน แต่จีนก็ยังไม่ส่งกำลังมาช่วยโดยรอเวลาที่เหมาะสมอยู่และเวลานั้นก็มาถึงเมื่อจีนเห็นพม่ากำลังทำศึกติดพันอยู่กับอยุธยา จึงเห็นว่าเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกำราบพม่าลง แต่การณ์ก็ไม่ได้เป็นไปดังนั้นเมื่อกองทัพของพม่าที่นำโดย [[อะแซหวุ่นกี้]], [[เนเมียวสีหตู]], [[บาลามินดิน]] และ[[เนเมียวสีหบดี]]ที่กลับมาช่วยในภายหลังนั้นกลับเป็นฝ่ายได้รับชัยชนะต่อกองทัพต้าชิงอันเกรียงไกร ทำให้แม่ทัพของราชวงค์ชิงอย่าง หลิวเจ้าแม่ทัพกองธงเขียว(บุกครั้งที่1) หยางอิงจวี่แห่งกองธงเขียว(บุกครั้งที่2) รวมถึงพระนัดดา[[หมิงรุ่ย]]แห่งกองธงเหลือง(ขึ้นตรงต่อฮ่องเต้) ขุนพลเอกแห่งราชวงค์ชิงผู้พิชิตมองโกลและเติร์ก (บุกครั้งที่ 3) ต้องฆ่าตัวตายหนีความอัปยศ{{Sfn|Htin Aung|1967|pp=178–179}}<ref name=dyc-145>Dai, p. 145</ref>