ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Solar sys.jpg|thumb|200px|ความโน้มถ่วงทำให้[[ดาวเคราะห์]]ต่างๆ ยังคง[[การหมุน|หมุน]]รอบ[[ดวงอาทิตย์]] ไม่หลุดออกจากวงโคจร (ภาพไม่เป็นไปตามอัตราส่วน)]]
'''ความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravity}}) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งทำให้วัตถุกายภาพทั้งหมดดึงดูดเข้าหากัน ความโน้มถ่วงทำให้วัตถุกายภาพมีน้ำหนักและทำให้วัตถุตกสู่พื้นเมื่อปล่อย แรงโน้มถ่วงเป็นหนึ่งในสี่คัญแรงหลัก ซึ่งประกอบด้วย '''แรงโน้มถ่วง''' [[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]] [[แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน]] และ [[แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม]] ในจำนวนแรงทั้งสี่แรงหลัก แรงโน้มถ่วงมีค่าน้อยที่สุด ถึงแม้ว่าแรงโน้มถ่วงจะเป็นแรงที่เราไม่สามารถรับรู้ได้มากนักเพราะความเบาบางของแรงที่กระทำต่อเรา แต่ก็เป็นแรงเดียวที่ยึดเหนี่ยวเราไว้กับพื้นโลก แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล และแปรผกผันกับระยะทางยกกำลังสอง ไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใดๆ ทำให้แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สำคัญมากในการยึดเหนี่ยว[[เอกภพ]]ไว้ด้วยกัน
 
นอกเหนือจากความโน้มถ่วงที่เกิดระหว่างมวลแล้ว ความโน้มถ่วงยังสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่เราเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ตาม[[กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน]] เช่น การเพิ่มหรือลดความเร็วของวัตถุ การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ เป็นต้น
บรรทัด 26:
 
=== ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ===
 
[[Albert Einstein]] ได้เผยแพร่[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]]ในปี [[พ.ศ. 2459]] โดยเนื้อหาแสดงถึงการอธิบายความโน้มถ่วงที่มีพื้นฐานมาจาก[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ]]และ[[กฎความโน้มถ่วงของนิวตัน]]ในรูปแบบของ[[กาลอวกาศ]] ({{lang-en|Spacetime}}) เชิง[[เรขาคณิต]]ที่สามารถอธิบายได้ด้วย[[สมการสนามของAlbert Einstein]] ({{lang-en|Einstein field Equation}}) ดังนี้<br />
: <math>R_{\mu \nu} - {1 \over 2}g_{\mu \nu}\,R + g_{\mu \nu} \Lambda = {8 \pi G \over c^4} T_{\mu \nu}</math>