ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความถี่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
 
ในกระบวนการของวงจร เช่น การหมุน การแกว่ง หรือคลื่น ความถี่นิยามโดยจำนวนวงจรต่อหน่วยเวลา ในหลักการของ[[ฟิสิกส์]]และ[[วิศวกรรมศาสตร์]] เช่น [[ทัศนศาสตร์]] [[สวนศาสตร์]] [[วิทยุ]] ความถี่มักแทนด้วยตัวอักษรละติน ''f'' หรือตัวอักษรกรีก "<math>\nu</math>" หรือ [[นิว|''ν'' (นิว)]]
 
 
ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่กับคาบของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำหรือการแกว่ง กำหนดให้
 
:<math>f = \frac{1}{T}.</math>
 
== หน่วย ==
 
[[หน่วยอนุพันธ์เอสไอ]] ของความถี่คือ[[เฮิรตซ์]] (hertz) ตั้งจากนักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ [[ไฮน์ริช เฮิรตซ์]] ความถี่หนึ่งเฮิรตซ์หมายถึงเหตุการณ์เกิดหนึ่งครั้งต่อ[[วินาที]] ชื่อหน่วยเดิมคือ วงจรต่อวินาที (cycles per second, cps) [[ระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ|หน่วยเอสไอ]]ของคาบคือวินาที
 
หน่วยวัดดั้งเดิมที่ใช้กับอุปกรณ์เครื่องกลคือ [[รอบต่อนาที]] (revolutions per minute) ย่อว่า r/min หรือ rpm หน่วย 60 rpm เท่ากับหนึ่งเฮิรตซ์<ref>{{Cite book
| last = Davies
| first = A.
| authorlink =
| publisher = Springer
| year = 1997
| location = New York
| doi =
| id =
| isbn = 978-0-412-61320-3
| url = https://books.google.com/?id=j2mN2aIs2YIC&pg=RA1-PA275
| title = Handbook of Condition Monitoring: Techniques and Methodology}}</ref>
 
== ความถี่ของคลื่น ==