ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธาตุสังเคราะห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
category, สั้นมาก
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ธาตุสังเคราะห์''' คือ[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลอง ไม่พบอยู่ตามธรรมชาติ และไม่เสถียร มี[[ครึ่งชีวิต]]ที่สั้นมาก (คือตั้งแต่ไม่มีมิลลิวินาที จนถึงหลักล้านปี ก็มี) เมื่อเทียบกับอายุของโลก ที่[[อะตอม]]ของธาตุนั้นๆ อาจเคยปรากฏอยู่เมื่อบังเกิดโลกขึ้นมาเมื่อนานมาแล้วสลายไปจนหมดแล้ว
{{สั้นมาก}}
 
'''ธาตุสังเคราะห์''' คือ[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลอง ไม่พบอยู่ตามธรรมชาติ
ด้วยเหตุนี้ธาตุสังเคราะห์บนโลกจึงมีเฉพาะที่เป็นผลิตผลจากเครื่องทำปฏิกิริยานิวเคลียร์ (nuclear reactors) หรือเครื่องเร่งอนุภาคเท่านั้น (particle accelerator)
 
ธาตุสังเคราะห์ตัวแรกที่เกิดขึ้นคือ [[เทคนีเตียม]] (technetium) ซึ่งเข้ามาแทรกในช่องหนึ่งของ[[ตารางธาตุ]] และการค้นพบว่าไม่มี[[ไอโซโทป]]ที่เสถียรของธาตุเทคนีเทียม เป็นการอธิบายว่าไม่มีอยู่ในโลก เพราะครึ่งชีวิต 4.2 ล้านปีนั้น ย่อมหมายความว่าไม่มีธาตุนี้อยู่บนโลกเลย นับตั้งแต่บังเกิดโลกมา
 
ธาตุสังเคราะห์มีดังต่อไปนี้
 
[[Americium]]
[[Berkelium]]
[[Bohrium]]
[[Curium]]
[[Californium]]
[[Dubnium]]
[[Einsteinium]]
[[Fermium]]
[[Hassium]]
[[Lawrencium]]
[[Mendelevium]]
[[Meitnerium]]
[[Neptunium]]
[[Nobelium]]
[[Rutherfordium]]
[[Seaborgium]]
[[Darmstadtium]]
[[Roentgenium]]
 
ชื่อที่สงวนไว้สำหรับธาตุสังเคราะห์ที่เพิ่งมีการสังเกตเมื่อเร็วๆ นี้ มีดังนี้
 
[[อูนอูนเฮกเซียม]] (Ununhexium), [[อูนอูนเพนเทียม]](Ununpentium) และ [[อูนอูนเทรียม]] (Ununtrium)
 
{{โครงเคมี}}
 
[[Category:ธาตุเคมี]]
 
[[en:synthetic element]]