ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามังระ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Banklive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
== ศึกกับอาณาจักรอยุธยา ==
{{บทความหลัก|การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง}}
พระองค์ทรงเป็นผู้ที่เคยติดตามพระบิดาคือ [[พระเจ้าอลองพญา]] มาทำสงครามกับอาณาจักรอยุธยาโดยพงศาวดารพม่าได้กล่าวถึงพระเจ้ามังระว่าเป็นผู้เตือนพระบิดาถึงความยากลำบากในการเข้าตีกรุงศรีอยุธยาที่มีปราการธรรมชาติยิ่งใหญ่ขนาดนี้ หากจะอาศัยแต่กำลังพลเท่าที่มีอยู่ และยุทธศาสตร์รบพุ่งที่ใช้อยู่เห็นจะไม่สามารถเอาชนะต่อกรุงศรีอยุทธยาได้ควรยกทัพกลับไปวางแผนให้รัดกุมใหม่จะดีกว่า แต่พระเจ้าอลองพญาเชื่อมั่นในความสามารถของพระองค์จึงได้ทำการรบพุ่งต่อ แต่ในครั้งนั้นอยุธยายังเพรียบพร้อมไปด้วยอาวุธและกำลังพลก็ยังบริบูรณ์ดี อีกทั้งยังได้สมเด็จพระเจ้าอุทุมพรออกบัญชาการรบด้วยพระองค์เองทำให้สามารถต้านทานการบุกของพระเจ้าอลองพญาเอาไว้ได้แม้จะล่วงเข้าเดือนพฤษภาคมแล้ว กองทัพพม่าก็ยังไม่สามารถหาทางข้ามแม่น้ำเข้ามาทำอะไรกรุงศรีอยุธยาให้บอบช้ำได้เลย จนพระเจ้าอลองพญาต้องมาสิ้นพระชนด้วยกระสุนปืนใหญ่แตกใส่(พงศาวดารฝ่ายไทย) หรือหากอิงตามพงศาวดารพม่าก็จะระบุว่าสวรรคตเพราะประชวร
พระองค์ทรงเป็นผู้ที่เคยติดตามพระบิดาคือ [[พระเจ้าอลองพญา]] มาทำสงครามกับอาณาจักรอยุธยา และเห็นพระบิดาของพระองค์สิ้นไปในศึกครั้งนี้ทำให้พระองค์มีความมุ่งมั่นที่จะพิชิตอาณาจักรอยุธยาเพื่อสานต่อปณิธานของบิดา รวมไปถึงการอ้างสิทธิครั้ง[[พระเจ้าบุเรงนอง]]เหนืออาณาจักรอยุธยา โดยในศึกครั้งนี้พระองค์ทรงกำหนดวิธีการพิชิตอาณาจักรอยุธยาโดยส่งแม่ทัพ[[มังมหานรธา]] และ[[เนเมียวสีหบดี]]โดยแบ่งเป็นฝ่ายเหนือ-ใต้ ให้ไล่ยึดหัวเมืองต่างๆเพื่อโดดเดียวอยุธยา จากนั้นก็ให้รวมไพร่พลระหว่างการเดินทัพ ซึ่งการมาครั้งนี้เป็นการจงใจมาในจังหวะที่อาณาจักรอยุธยาอ่อนแอ เนื่องจากแม่ทัพห่างสงครามมายาวนาน และภายในก็ระส่ำระส่ายจากขุนนางฉ้อฉน
 
อย่างไรก็ตามการที่พระเจ้ามังระต้องมาเห็นพระบิดาของพระองค์สิ้นไปในศึกครั้งนี้ทำให้พระองค์มีความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าที่จะพิชิตอาณาจักรอยุธยาเพื่อสานต่อปณิธานของบิดา รวมไปถึงการอ้างสิทธิมาแต่ครั้ง[[พระเจ้าบุเรงนอง]]เหนืออาณาจักรอยุธยา อีกทั้งทรงมองออกว่าการที่กบฎต่างๆสามารถฟืนคืนกลับมาได้ในเวลาอันรวดเร็วนั้นก็เพราะมีมหาอำนาจอย่างอยุธยาเป็นผู้หนุนหลังอยู่ ทำให้ไม่ว่าจะปราบกบฎอย่างไรก็จะไม่มีวันสิ้นสุด
 
โดยในศึกครั้งนี้พระองค์ได้ปรารภในสภาขุนนางว่า "อาณาจักรอยุธยายังไม่เคยถึงกาลต้องพินาศลงอย่างเด็ดขาดมาก่อน หากแต่จะอาศัยกำลังของเนเมียวสีบดีที่ยกไปทางเชียงใหม่แต่เพียงทัพเดียวนั้น ย่อมยากที่จะตีอยุธยาให้สำเร็จได้จำเป็นต้องให้มังมหานรธายกไปช่วยกระทำการอีกด้านหนึ่งกาลนี้จึงจะสำเร็จ"
 
พระองค์ทรงเป็นผู้ที่เคยติดตามพระบิดาคือ [[พระเจ้าอลองพญา]] มาทำสงครามกับอาณาจักรอยุธยา และเห็นพระบิดาของพระองค์สิ้นไปในศึกครั้งนี้ทำให้พระองค์มีความมุ่งมั่นที่จะพิชิตอาณาจักรอยุธยาเพื่อสานต่อปณิธานของบิดา รวมไปถึงการอ้างสิทธิครั้ง[[พระเจ้าบุเรงนอง]]เหนืออาณาจักรอยุธยา โดยในศึกครั้งนี้พระองค์ทรงกำหนดวิธีการพิชิตอาณาจักรอยุธยาโดยส่งแม่ทัพ[[มังมหานรธา]] และ[[เนเมียวสีหบดี]]โดยแบ่งเป็นฝ่ายเหนือ-ใต้ ให้ไล่ยึดหัวเมืองต่างๆเพื่อโดดเดียวอยุธยา จากนั้นก็ให้รวมไพร่พลระหว่างการเดินทัพ ซึ่งการมาครั้งนี้เป็นการจงใจมาในจังหวะที่อาณาจักรอยุธยาอ่อนแอ เนื่องจากแม่ทัพห่างสงครามมายาวนาน และภายในก็ระส่ำระส่ายจากขุนนางฉ้อฉน
 
พระองค์ทรงมีบทเรียนมาจากคราวทำศึกกับอาณาจักรอยุธยาครั้งแรก โดยมองออกว่าแม้ตัวเมืองอยุธยานั้นจะบุกได้ยากเนื่องจากมีลักษณะเป็นเกาะ แต่นั้นก็เป็นเหมือนดาบสองคม เพราะหากเกาะที่ขาดกำลังบำรุงแม้จะแข็งแกร่งหรือมีไพร่พลมากซักเพียงใด สุดท้ายอาหารก็ต้องหมด การรักษาภาพรวมเช่นนี้ไปเรื่อยๆจนผ่านผ่านฤดูน้ำหลากไปได้ ภายในเมืองย่อมระส่ำ ระส่าย และการณ์ก็เป็นเช่นนั้น เมื่อกองทัพพม่าสามารถพิชิตกรุงศรีอยุธยาได้ในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 ตรง กับวันอังคาร ขึ้นเก้าค่ำ เดือนห้า ปีกุน และนั้นแสดงให้เห็นว่าสิ่งที่พระองค์คิดนั้นถูกต้อง กองทัพพม่าสามารถยึดกรุงศรีอยุธยาเอาไว้ได้ <ref>Phayre, pp. 188–190</ref>