ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 53:
** สมัยที่ ๑
นับแต่วันใช้ธรรมนูญนี้เป็นต้นไปจนกว่าจะถึงเวลาที่สมาชิก ในสมัยที่ ๒ จะเข้ารับตำแหน่งให้คณะราษฎรซึ่งมีคณะผู้รักษา พระนครฝ่ายทหารเป็นผู้ใช้อำนาจแทนจัดตั้งผู้แทนราษฎร ชั่วคราวขึ้นเป็นจำนวน ๗๐ นายเป็นสมาชิกในสภา
 
** สมัยที่ ๒
เส้น 83 ⟶ 82:
* '''มาตรา ๑๓''' ผู้แทนประเภทที่ ๑ จะอยู่ในตำแหน่งได้คราวละ ๔ ปีนับแต่วันเข้ารับตำแหน่ง แต่เมื่อถึงสมัยที่ ๓ แล้ว แม้ผู้แทนในสมัยที่ ๒ จะได้อยู่ในตำแหน่งไม่ถึง ๔ ปีก็ดี ต้องออกจากตำแหน่งนับแต่วันที่ผู้แทนในสมัยที่ ๓ ได้เข้ารับตำแหน่ง
 
ถ้าตำแหน่งผู้แทนว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราว ออกตามเวร ให้สมาชิกเลือกผู้อื่นตั้งขึ้นใหม่ให้เต็มที่ว่าง แต่ผู้แทนใหม่มีเวลาอยู่ในตำแหน่งได้เพียงเท่ากำหนดเวลา ที่ผู้ออกไปนั้นชอบที่จะอยู่ได้
 
* '''มาตรา ๑๔''' ราษฎรไม่ว่าเพศใดเมื่อมีคุณสมบัติดั่งต่อไปนี้ ย่อมมีสิทธิออกเสียงลงมติเลือกผู้แทนหมู่บ้านได้ คือ
เส้น 93 ⟶ 92:
 
** คุณสมบัติของผู้แทนหมู่บ้านและผู้แทนตำบลให้เป็นไป เหมือนดั่งมาตรา ๑๑
มาตรา ๑๕ การเลือกตั้งผู้แทนใด ๆ ให้ถือตามคะแนน เสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้มีการเลือกครั้งที่ ๒ ถ้าครั้งที่ ๒ มีคะแนนเสียงเท่ากันให้ตั้งคนกลางออกเสียงชี้ ขาด และให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งคนกลางไว้
มาตรา ๑๖ ผู้แทนนอกจากถึงเวร จะต้องออกจาก ตำแหน่ง ให้นับว่าขาดจากตำแหน่ง เมื่อขาดคุณสมบัติดั่ง กล่าวไว้ในมาตรา ๑๑ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเมื่อตาย หรือ เมื่อสภาได้ได้วินิจฉัยให้ออกในเมื่อสภาเห็นว่าเป็นผู้นำความ เสื่อมเสียให้แก่สภา
มาตรา ๑๗ การฟ้องร้องสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎร เป็นคดีอาชญายังโรงศาลจะต้องได้รับอนุญาตจากสภาก่อน ศาลจึ่งจะรับฟ้องได้
 
* '''มาตรา ๑๕''' การเลือกตั้งผู้แทนใด ๆ ให้ถือตามคะแนน เสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้มีการเลือกครั้งที่ ๒ ถ้าครั้งที่ ๒ มีคะแนนเสียงเท่ากันให้ตั้งคนกลางออกเสียงชี้ ขาด และให้ผู้สมัครรับเลือกตั้งคนกลางไว้
 
* '''มาตรา ๑๖''' ผู้แทนนอกจากถึงเวร จะต้องออกจาก ตำแหน่ง ให้นับว่าขาดจากตำแหน่ง เมื่อขาดคุณสมบัติดั่ง กล่าวไว้ในมาตรา ๑๑ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเมื่อตาย หรือ เมื่อสภาได้ได้วินิจฉัยให้ออกในเมื่อสภาเห็นว่าเป็นผู้นำความ เสื่อมเสียให้แก่สภา
ส่วนที่ ๓
 
ระเบียบการประชุม
* '''มาตรา ๑๗''' การฟ้องร้องสมาชิกของสภาผู้แทนราษฎร เป็นคดีอาชญายังโรงศาลจะต้องได้รับอนุญาตจากสภาก่อน ศาลจึ่งจะรับฟ้องได้
มาตรา ๑๘ ให้สมาชิกเลือกกันขึ้นเป็นประธานของ สภา ๑ นายมีหน้าที่ดำเนิรการของสภา และมีรองประธาน ๑ นายเป็นผู้ทำการแทน เมื่อประธานมีเหตุขัดข้องชั่วคราว ที่จะทำหน้าที่ได้
 
มาตรา ๑๙ เมื่อประธานไม่อยู่ หรือไม่สามารถมาได้ ก็ให้รองประธานแทนเป็นผู้รักษาความเรียบร้อยในสภา และ จัดการให้ได้ปรึกษาหารือกันตามระเบียบ
'''''
มาตรา ๒๐ ถ้าประธานและรองประธานไม่อยู่ในที่ประชุม ทั้ง ๒ คนก็ให้สมาชิกที่มาประชุมเลือกตั้งกันเองขึ้นเป็นประธาน คนหนึ่งชั่วคราวประชุมนั้น
''ส่วนที่ ๓ ระเบียบการประชุม''
มาตรา ๒๑ การประชุมปกติให้เป็นหน้าที่ของสภาเป็น ผู้กำหนด
 
การประชุมพิเศษจะมีได้ต่อเมื่อสมาชิกมีจำนวนรวมกัน ไม่น้อยกว่า ๑๕ คนได้ร้องขอหรือคณะกรรมการราษฎรได้ร้อง ขอให้เรียกประชุม การนัดประชุมพิเศษ ประธานหรือผู้ ทำการแทนประธานเป็นผู้สั่งนัด
* '''มาตรา ๑๘''' ให้สมาชิกเลือกกันขึ้นเป็นประธานของ สภา ๑ นายมีหน้าที่ดำเนิรการของสภา และมีรองประธาน ๑ นายเป็นผู้ทำการแทน เมื่อประธานมีเหตุขัดข้องชั่วคราว ที่จะทำหน้าที่ได้
มาตรา ๒๒ การประชุมทุกคราวต้องมีสมาชิกมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดจึ่งจะเป็นองค์ ประชุมปรึกษาการได้
 
มาตรา ๒๓ การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษานั้น ให้ถือ เอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ สมาชิกคนหนึ่งย่อมมีเสียง หนึ่งในการลงคะแนน ถ้ามีจำนวนเสียงลงคะแนนเท่ากัน ให้ผู้เป็นประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นได้อีกเสียง หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
* '''มาตรา ๑๙''' เมื่อประธานไม่อยู่ หรือไม่สามารถมาได้ ก็ให้รองประธานแทนเป็นผู้รักษาความเรียบร้อยในสภา และ จัดการให้ได้ปรึกษาหารือกันตามระเบียบ
มาตรา ๒๔ สมาชิกไม่ต้องรับผิดในถ้อยคำใด ๆ ที่ได้ กล่าวหรือแสดงเป็นความเห็นในการออกเสียงลงคะแนน ในที่ประชุม ผู้หนึ่งผู้ใดจะว่ากล่าวฟ้องร้องเพราะเหตุนั้น หาได้ไม่
 
มาตรา ๒๕ ในการประชุมทุกคราวประธานต้องสั่ง ให้เจ้าหน้าที่ประจำในสภาจดรายงานรักษาไว้ และเสนอเพื่อ ให้สมาชิกได้ตรวจแก้ไขรับรอง แล้วให้ผู้เป็นประธานใน ที่ประชุมลงนามกำกับไว้
* '''มาตรา ๒๐''' ถ้าประธานและรองประธานไม่อยู่ในที่ประชุม ทั้ง ๒ คนก็ให้สมาชิกที่มาประชุมเลือกตั้งกันเองขึ้นเป็นประธาน คนหนึ่งชั่วคราวประชุมนั้น
มาตรา ๒๖ สภามีอำนาจตั้งอนุกรรมการเพื่อทำการอย่างใด อย่างหนึ่ง หรือให้สอบสวนพิจารณาทำความเห็นในเรื่องใด เรื่องหนึ่งขึ้นเสนอต่อที่ประชุมใหญ่เพื่อปรึกษาหารือตกลงอีก ชั้นหนึ่งก็ได้ ประธานอนุกรรมการนั้นเมื่อสภาไม่ได้ตั้งก็ให้ อนุกรรมการเลือกกันเองตั้งขึ้นเป็นประธานได้
 
อนุกรรมการมีอำนาจเชิญบุคคลใด ๆ มาชี้แจงแสดงความ เห็นได้ อนุกรรมการและผู้ที่เชิญมาได้รับสิทธิในการแสดง ความเห็นตามมาตรา ๒๔
* '''มาตรา ๒๑''' การประชุมปกติให้เป็นหน้าที่ของสภาเป็น ผู้กำหนดการประชุมพิเศษจะมีได้ต่อเมื่อสมาชิกมีจำนวนรวมกัน ไม่น้อยกว่า ๑๕ คนได้ร้องขอหรือคณะกรรมการราษฎรได้ร้อง ขอให้เรียกประชุม การนัดประชุมพิเศษ ประธานหรือผู้ ทำการแทนประธานเป็นผู้สั่งนัด
ในการประชุมอนุกรรมการนั้นต้องมีอนุกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่า ๓ นายจึ่งจะเป็นองค์ประชุมปรึกษาการได้ เว้น แต่อนุกรรมการนั้นจะมีจำนวนตั้งขึ้นเพียง ๓ คน เมื่อมา ประชุมแค่ ๒ คนก็ให้นับว่าเป็นองค์ประชุมได้
 
มาตรา ๒๗ สภามีอำนาจตั้งระเบียบการปรึกษาหารือ เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามธรรมนูญนี้ (ในชั้นแรกนี้ให้ อนุโลมใช้ข้อบังคับสภากรรมการองคมนตรีฉะเพาะที่ไม่ขัด กับธรรมนูญนี้ไปพลางก่อน)
* '''มาตรา ๒๒''' การประชุมทุกคราวต้องมีสมาชิกมาประชุม ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดจึ่งจะเป็นองค์ ประชุมปรึกษาการได้
 
* '''มาตรา ๒๓''' การลงมติวินิจฉัยข้อปรึกษานั้น ให้ถือ เอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ สมาชิกคนหนึ่งย่อมมีเสียง หนึ่งในการลงคะแนน ถ้ามีจำนวนเสียงลงคะแนนเท่ากัน ให้ผู้เป็นประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นได้อีกเสียง หนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
 
* '''มาตรา ๒๔''' สมาชิกไม่ต้องรับผิดในถ้อยคำใด ๆ ที่ได้ กล่าวหรือแสดงเป็นความเห็นในการออกเสียงลงคะแนน ในที่ประชุม ผู้หนึ่งผู้ใดจะว่ากล่าวฟ้องร้องเพราะเหตุนั้น หาได้ไม่
 
* '''มาตรา ๒๕''' ในการประชุมทุกคราวประธานต้องสั่ง ให้เจ้าหน้าที่ประจำในสภาจดรายงานรักษาไว้ และเสนอเพื่อ ให้สมาชิกได้ตรวจแก้ไขรับรอง แล้วให้ผู้เป็นประธานใน ที่ประชุมลงนามกำกับไว้
 
* '''มาตรา ๒๖''' สภามีอำนาจตั้งอนุกรรมการเพื่อทำการอย่างใด อย่างหนึ่ง หรือให้สอบสวนพิจารณาทำความเห็นในเรื่องใด เรื่องหนึ่งขึ้นเสนอต่อที่ประชุมใหญ่เพื่อปรึกษาหารือตกลงอีก ชั้นหนึ่งก็ได้ ประธานอนุกรรมการนั้นเมื่อสภาไม่ได้ตั้งก็ให้ อนุกรรมการเลือกกันเองตั้งขึ้นเป็นประธานได้
 
อนุกรรมการมีอำนาจเชิญบุคคลใด ๆ มาชี้แจงแสดงความ เห็นได้ อนุกรรมการและผู้ที่เชิญมาได้รับสิทธิในการแสดง ความเห็นตามมาตรา ๒๔
 
ในการประชุมอนุกรรมการนั้นต้องมีอนุกรรมการมาประชุม ไม่น้อยกว่า ๓ นายจึ่งจะเป็นองค์ประชุมปรึกษาการได้ เว้น แต่อนุกรรมการนั้นจะมีจำนวนตั้งขึ้นเพียง ๓ คน เมื่อมา ประชุมแค่ ๒ คนก็ให้นับว่าเป็นองค์ประชุมได้
 
* '''มาตรา ๒๗''' สภามีอำนาจตั้งระเบียบการปรึกษาหารือ เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามธรรมนูญนี้ (ในชั้นแรกนี้ให้ อนุโลมใช้ข้อบังคับสภากรรมการองคมนตรีฉะเพาะที่ไม่ขัด กับธรรมนูญนี้ไปพลางก่อน)