ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฉลียง (วงดนตรี)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 11:
|อดีตสมาชิก=[[สมชาย ศักดิกุล]]}}
 
'''เฉลียง''' เป็นชื่อของ[[วงดนตรีไทย]] ที่มีผลงานระหว่างปี พ.ศ. 2525 - พ.ศ. 2534 ทั้งหมด 6 ชุด เฉลียงเป็นวงดนตรีวงแรก ๆ ที่บุกเบิกเพลงแนวแปลกใหม่ ทั้งด้านเนื้อหาและท่วงทำนอง ให้กับวงการเพลงไทย ผู้ก่อตั้งและผู้แต่งเพลงส่วนใหญ่ของเฉลียงคือ จิก - [[ประภาส ชลศรานนท์]]
 
ภายหลังจากออกผลงานชุดสุดท้ายในปี พ.ศ. 2534 เฉลียงยังคงมีการรวมตัวกันเล่นคอนเสิร์ตและออกผลงานเพลงเฉพาะกิจเป็นครั้งคราว
 
== ที่มาของชื่อวงเฉลียง ==
จิก - ประภาส ชลศรานนท์ศรานนท์ มีความต้องการชื่อที่สื่อถึงมนุษย์ เป็นบ้าน เป็นจิตใจ และต้องการสื่อถึง ตรงกลาง ที่อยู่ระหว่างข้างนอกและข้างใน (จิตใจ) จึงนึกถึงชื่อเฉลียงที่เป็นส่วนที่เชื่อมต่อข้างนอกกับข้างในบ้าน ประกอบกับชื่อเฉลียงมีเสียงคล้ายกับ เฉียงๆ ไม่ค่อยตรง เป็นการสะท้อนภาพ แต่ไม่ใช่สะท้อนภาพสังคมแต่เป็นการสะท้อนภาพจิตใจ <ref> ''เพลงเขียนคน ดนตรีเขียนโลก'' หน้า 52 </ref>
 
== สมาชิก ==
บรรทัด 38:
== ประวัติ ==
=== ยุคที่หนึ่ง ===
'''เฉลียง'''เกิดจากการรวมกันของกลุ่มนิสิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย จิก - ประภาส ชลศรานนท์ และเจี๊ยบ - วัชระ ปานเอี่ยม ทำเพลงตัวอย่าง โดยมีดี้ - นิติพงษ์ ห่อนาค เป็นนักร้อง และนำไปขอให้เต๋อ - [[เรวัต พุทธินันทน์]] อำนวยการผลิตให้
 
หลังจากเรวัตเต๋อได้ฟังแล้ว พบว่านิติพงษ์ดี้ร้องเสียงเพี้ยนต่ำไม่เหมาะกับการเป็นนักร้องนำ จึงเสนอให้ เล็ก - สมชาย ศักดิกุล ที่ขณะนั้นเป็นนักดนตรีอาชีพอยู่มาเป็นนักร้องคู่กับวัชระ เจี๊ยบในผลงานชุดแรก ในปี [[พ.ศ. 2525]] ที่ซึ่งแท้จริงแล้วไม่มีชื่อชุด แต่เนื่องจากหน้าปกที่ออกแบบโดยประภาสจิกมีรูปฝน จึงถูกเรียกว่าชุด ''ปรากฏการณ์ฝน'' ตามชื่อเพลงเพลงหนึ่งในชุดนั้น แต่หลังจากผลงานชุดแรกออกมาไม่ประสบความสำเร็จทั้งด้านรายได้และเสียงตอบรับ มียอดขายไม่เกิน 4,000 - 5,000 ม้วน <ref>''เฉลียงเรื่องราวบนแผ่นไม้'' หน้า 65</ref> เฉลียงจึงไม่ได้ออกผลงานอีกเป็นระยะเวลา 4 ปี
 
=== ยุคที่สอง ===
ในปี [[พ.ศ. 2529]] ประภาสจิกมีผลงานเพลงอยู่ชุดหนึ่งที่เคยมีความคิดให้เกี๊ยง - เกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย์ รุ่นน้องที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ที่เคยร่วมร้องเพลงประกอบโฆษณาที่ประภาสจิกแต่ง ออกผลงานเป็นศิลปินเดี่ยว แต่เนื่องจากอุปสรรคด้านผู้สนับสนุน จึงทำให้โครงการไม่เกิดขึ้น จนกระทั่ง จุ้ย - ศุ บุญเลี้ยง หนึ่งในผู้ได้เป็นเจ้าของอัลบั้ม ''ปรากฏการณ์ฝน'' และมีความประทับใจในเพลงเที่ยวละไม จึงติดต่อกับประภาสจิกเพื่อนำผลงานเพลงของตัวเองไปให้พิจารณา และไปชนกับโครงการที่ถูกพับไว้ของเกียรติศักดิ์เกี๊ยง จึงเกิดความคิดที่จะรวมตัวเป็นศิลปินคู่ในชื่อ ''ไปยาลใหญ่'' แต่ประภาสจิกยังไม่พอใจในผลงานบางเพลง จึงเสนอให้วัชระเจี๊ยบและนิติพงษ์ดี้กลับมารวมตัวอีกครั้งเป็นวงเฉลียงในยุคที่สอง และแต่เนื่องจากในหลายบทเพลงมีเสียงของ[[แซกโซโฟน]] จึงชักชวนให้แต๋ง - ภูษิต ไล้ทอง นักดนตรีเครื่องเป่าที่เคยร่วมงานกันเมื่อครั้งยังเป็นนิสิตมาร่วมกันเป็นสมาชิกวงเฉลียงในยุคที่สองอีกคน และได้ออกผลงานชุดแรกในยุคที่สองกับค่าย[[ครีเอเทีย]]คือ ''อื่นๆ อีกมากมาย'' อำนวยการดนตรีโดย ทรงวุฒิ จรูญเรืองฤทธิ์ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากนักฟังเพลงมีการออกแสดงคอนเสิร์ตและมิวสิกวีดีโอ
 
ต้นปี [[พ.ศ. 2530]] เฉลียงออกผลงานเพลงชุดที่สามกับค่าย[[คีตา เรคคอร์ดส|คีตาแผ่นเสียงและเทป]] (ต่อมาคือ[[คีตา เรคคอร์ดส]]และ[[คีตา เอนเตอร์เทนเมนท์]]) ในชุด ''เอกเขนก'' มีเพลง ''[[เร่ขายฝัน]]'' ที่ถูกทำเป็นมิวสิกวีดีโอยาว 9 นาที และได้รับรางวัลมิวสิกวิดีโอยอดเยี่ยมจากสมาคมผู้กำกับศิลป์กรุงเทพฯ (B.A.D. Awards) ประจำปี พ.ศ. 2530 นอกจากผลงานบทเพลงแล้ว ชื่อเสียงของเฉลียงทำให้ได้เล่นโฆษณาของน้ำอัดลม[[เป๊ปซี่]] ที่เพลงประกอบโฆษณาที่ดัดแปลงจากเพลง ''รู้สึกสบายดี'' ได้รับรางวัลจากสมาคมผู้กำกับศิลป์กรุงเทพฯเช่นเดียวกัน <ref>''เฉลียงเรื่องราวบนแผ่นไม้'' หน้า 141-143</ref>
 
ปลายปี พ.ศ. 2530 เฉลียงออกผลงานเพลงชุดที่สี่คือ ''เฉลียงหลังบ้าน'' ที่ผลงานเพลงส่วนใหญ่เป็นบทเพลงประกอบละครเรื่องต่างๆ ที่ประภาสจิกเป็นผู้แต่ง และแสดงคอนเสิร์ต ''หัวบันไดไม่แห้ง'' เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531
 
=== ยุคที่สาม ===
หลังจาก ''เฉลียงหลังบ้าน'' ศุจุ้ยที่งานส่วนตัวเริ่มรัดตัวและนิติพงษ์ดี้ที่ต้องกลับไปเป็นนักแต่งเพลงให้กับ [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่|แกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเมนต์]] ได้ตัดสินใจของยุติบทบาทกับวง ประภาสจิกจึงชักชวนให้นก - ฉัตรชัย ดุริยประณีต [[นักแต่งเพลง]]ที่เคยส่งเพลงมาให้เขาพิจารณาเข้ามาเพิ่มเป็นสมาชิกอีกคนหนึ่งในเฉลียงยุคที่สาม ที่มีสมาชิก 4 คน ในเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2532]] ผลงานชุดแรกในยุคที่สามคือ ''แบ-กบาล'' มิวสิกวีดีโอที่มีชื่อเสียงของชุดนี้คือ ''ใจเย็นน้องชาย'' ที่ได้รับรางวัลชมเชยประเภทมิวสิกวีดีโอดีเด่นของคณะกรรมการ[[รางวัลโทรทัศน์ทองคำ|โทรทัศน์ทองคำ]] <ref>''เฉลียงเรื่องราวบนแผ่นไม้'' หน้า 175</ref> เฉลียงมี ''คอนเสิร์ตปิดท้ายทอย'' ที่[[ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]]ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2532
 
ผลงานชุดสุดท้ายของเฉลียงออกในปี [[พ.ศ. 2534]] คือ ตะไคร่น้ำสุดขอบฟ้า ที่มีเนื้อหาหลักเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ มีบทเพลงที่ได้รับ[[สีสันอะวอร์ดส์|รางวัลสีสันอวอร์ด]]สาขาเพลงยอดเยี่ยมคือ ''โลกาโคม่า'' และเฉลียงยังได้รับรางวัลศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยมจากรางวัลสีสันอวอร์ดอีกด้วย แต่เนื่องจากภาระและหน้าที่การงานส่วนตัวของสมาชิกแต่ละคนทำให้การทำการตลาดและการออกแสดงคอนเสิร์ตเป็นไปได้ยาก เฉลียงจึงยุติบทบาทลง<ref>''เฉลียงเรื่องราวบนแผ่นไม้'' หน้า 193</ref>
บรรทัด 219:
 
== คอนเสิร์ต ==
หลังจากออกผลงานอัลบั้มสุดท้ายคือตะไคร่น้ำสุดขอบฟ้า วงเฉลียงกลับมารวมตัวอีกครั้งหนึ่งใน ''คอนเสิร์ตแก้คิดถึง...ฉลองสิบกว่าปีเฉลียง'' นำรายได้เพื่อการกุศล แสดงในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2537<ref>[http://www.chaliang.com/calendar.asp?ID=4 ปฏิทินเฉลียงเดือนเมษายน] จากเว็บวงเฉลียง</ref> ที่[[ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]] โดยมีสมาชิก 7 คน จากทั้ง 3 ยุค และนิติพงษ์ดี้ได้แต่งเพลงใหม่คือ ไม่รักแต่คิดถึง เพื่อแสดงเป็นครั้งแรกในคอนเสิร์ตนี้
 
ต่อมาในวันที่ 2-3 ธันวาคม พ.ศ. 2543<ref>[http://www.chaliang.com/calendar.asp?ID=12 ปฏิทินเฉลียงเดือนธันวาคม] จากเว็บวงเฉลียง</ref> วงเฉลียงได้มารวมตัวกันจัดคอนเสิร์ตสั่งลาอีกครั้งในชื่อ ''คอนเสิร์ตเรื่องราวบนแผ่นไม้'' แสดงที่หอประชุมใหญ่ [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ท่าพระจันทร์ ได้ออกผลงานอีกชุดเป็นชุดพิเศษที่มีจำหน่ายหน้าคอนเสิร์ต คือ ชุด ''[http://www.chaliang.com/new/Albumc655.html นอกชาน]'' และอำลาแฟนเพลงว่าจะไม่รวมตัวเล่นคอนเสิร์ตกันอีก การแสดงรอบสุดท้ายของคอนเสิร์ตนี้อาจเป็นประวัติศาสตร์ของวงการดนตรีว่าเป็นคอนเสิร์ตที่ใช้เวลาหลังจากจบการแสดงยาวนานที่สุด เนื่องจากภายหลังแสดงเพลงสุดท้ายไปเรียบร้อยแล้ว แฟนเพลงเฉลียงปรบมือต่อเนื่องเป็นเวลายาวนาน นิติพงษ์ ดี้ได้ออกมาประกาศว่าจะไม่ลงจากเวทีจนกว่าแฟนเพลงคนสุดท้ายที่ต้องการลายเซ็นจะเดินทางกลับ นอกจากนั้นวงยังออกมาแสดงเพลง [http://www.youtube.com/watch?v=hE49dc7cF0s&list=PLfJhkM7KfAcdP7NBa3ILdefHp_8njIUFY&index=27 เรื่องราวบนแผ่นไม้] เพลงประจำคอนเสิร์ตอีกครั้งหนึ่ง โดยมี ประภาส จิกซึ่งเป็นผู้แต่งร่วมร้องด้วยเป็นครั้งแรก
 
พ.ศ. 2550 สมาชิกวงเฉลียงทั้ง 6 รวมตัวจัดคอนเสิร์ตอีกครั้งเพื่อจัดหารายได้ให้กับสมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสนับสนุนด้านการศึกษาของคณะ มีชื่อว่า [[เหตุเกิด...ที่เฉลียง]] และมีนิยามว่า "ดนตรีบำบัด ถาปัดจัด เฉลียงโชว์" ที่ ศุ จุ้ยเป็นผู้ตั้ง <ref>[http://www.komchadluek.net/2007/06/09/f001_122011.php? เฉลียงกลืนน้ำลายตัวเอง ขึ้นเวทีอีกครั้งเพื่อ 'ถาปัด'] ข่าวจากหนังสือพิมพ์คมชัดลึก</ref> แสดงที่ [[อิมแพค อารีน่า เมืองทองธานี|อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี]] สองรอบในวันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2550 เวลา 13.00 น. และ 19.00 น. <ref>[http://www.chaliang.com/concert2550.html หน้างานคอนเสิร์ตจากเวบวงเฉลียง]</ref> และล่าสุดในปี พ.ศ. 2559 วงเฉลียงได้มารวมตัวกันจัดคอนเสิร์ตอีกครั้งในชื่อ ''ปรากฏการณ์เฉลียง'' แสดงที่ [[รอยัลพารากอนฮอลล์]] [[สยามพารากอน]] ในวันที่ 17-18 กันยายน พ.ศ. 2559<ref>[http://createintelligence.co.th/2016/05/ปรากฏการณ์เฉลียง/ การกลับมาขึ้นเวทีคอนเสิร์ตเต็มรูปแบบอีกครั้ง ของเฉลียง!]</ref><ref>[http://www.chaliangteam.com/home.html คอนเสิร์ต โตโยต้า พรีเซนต์ '''ปรากฏการณ์เฉลียง''' ที่ รอยัล พารากอน ฮอลล์]</ref>
 
=== เอกลักษณ์ของคอนเสิร์ตเฉลียง ===
คอนเสิร์ตเฉลียงมีรูปแบบพิเศษเฉพาะตัวคือมีการพูดคุยหลังจากจบเพลง เรื่องที่คุยมันจะเป็นเรื่องหยอกล้อกันระหว่างสมาชิกภายในวง หรือวิพากษ์วิจารณ์เหตุการณ์ในสังคมในมุมมองที่แตกต่างและขบขัน แฟนเพลงเฉลียงบางส่วนที่เข้าไปชมคอนเสิร์ตจึงให้ความสนใจส่วนพูดคุยมากพอๆ กับการฟังเพลง นอกไปจากนั้นระหว่างการแสดงบางบทเพลง เช่น ''นิทานหิ่งห้อย'' ที่ร้องโดยศุจุ้ย จะมีการเล่านิทานโดยวัชระเจี๊ยบสลับระหว่างท่อน
 
ในยุคก่อนหน้า''ก่อนยุบวงรวมทั้งบางคอนเสิร์ตแก้คิดถึง''หลังยุบวง เฉลียงจะใช้บทเพลง''อื่นๆ อีกมากมาย'' เป็นเพลงปิดคอนเสิร์ต โดยบางครั้ง มีการแก้เนื้อเพลงเพื่อสร้างความแปลกใจให้กับผู้ชม
 
== เฉลียงเฉพาะกิจ ==
บรรทัด 234:
 
=== ผลงานเพลง ===
''ขอแค่คิดถึง'' รวมเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง ''[[วอนทั้งโลกโขกหัวเธอ]]'' ที่วัชระเจี๊ยบเป็นผู้กำกับ มีผู้ร่วมงานคือ ภูษิตแต๋ง เกียรติศักดิ์เกี๊ยง วัชระเจี๊ยบ และ ศุจุ้ย ประกอบด้วยเพลง
 
* ขอแค่คิดถึง
บรรทัด 244:
* ขอแค่คิดถึง (Orchestra Version)
 
เพลงประกอบสารคดีดนตรีเล่าเรื่อง "[[น้ำคือชีวิต]]" ตอน น้ำเป็นแหล่งกำเนิดชีวิต เฉลียงประกอบด้วยสมาชิกทั้ง วัชระ6 นิติพงษ์คนในยุครุ่งเรือง ภูษิตได้แก่ เกียรติศักดิ์เจี๊ยบ ศุดี้ และแต๋ง ฉัตรชัยเกี๊ยง จุ้ย และนก
 
=== งานคอนเสิร์ต ===
* ''รวมมิตรให้มัน'' ที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2543 เฉลียงประกอบด้วย วัชระเจี๊ยบ นิติพงษ์ดี้ เกียรติศักดิ์เกี๊ยง ภูษิตแต๋ง และแขกรับเชิญคือ "แว่น" - จักราวุธ แสวงผล ศิษย์เก่าสถาปัตย์ จุฬาฯ ที่ทำงานแต่งเพลงร่วมกับนิติพงษ์ดี้
* ''ครบเด็กสร้างบ้าน'' ที่หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันที่ 13-14 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เฉลียงประกอบด้วย วัชระเจี๊ยบ นิติพงษ์ดี้ และ เกียรติศักดิ์เกี๊ยง มีแขกรับเชิญคือ ญานดนูต้นไม้ - ฌานดนู ไล้ทอง (ต้นไม้)
* ''คีตา แบ็ค ทู เดอะ ฟิวเจอร์ คอนเสิร์ต'' ที่รอยัล พารากอน ฮอลล์ สยามพารากอน ในวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2550 เฉลียงประกอบด้วยสมาชิกยุคที่ วัชระ3 ภูษิตคือ เกียรติศักดิ์เจี๊ยบ และแต๋ง ฉัตรชัยเกี๊ยง และนก
* ''คอนเสิร์ต 25 ปี นิติพงษ์ ห่อนาค'' ที่อิมแพ็ค อารีน่า เมืองทองธานี ในวันที่ 25-26 สิงหาคม พ.ศ. 2550 เฉลียงประกอบด้วย ภูษิตแต๋ง และเกี๊ยง เกียรติศักดิ์ (เฉพาะวันที่ 25 สิงหาคม)
* ''เพลงแบบประภาส'' ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันที่ 4-6 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 เฉลียงประกอบด้วย วัชระเจี๊ยบ ภูษิตแต๋ง ศุจุ้ย และเกี๊ยง เกียรติศักดิ์ทำการแสดงเพลงที่แต่งขึ้นโดยจิก
* ''หนีตามเฉลียง 3ครั้งที่ ฝ่าย1'' มหรสพพูดและเพลง ตอน คนจะไทย ใครจะทน ที่ธันเดอร์โดม เมืองทองธานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวันที่ 136 มิถุนายนกันยายน พ.ศ. 2552 เฉลียงประกอบด้วย วัชระจุ้ย นิติพงษ์เกี๊ยง และ ภูษิต โดยมี เกียรติศักดิ์ ขึ้นเวทีในช่วงท้ายเจี๊ยบ
* ''เฉลียง 3 ฝ่าย'' มหรสพพูดและเพลง ตอน คนจะไทย ใครจะทน ที่ธันเดอร์โดม เมืองทองธานี ในวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2552 เฉลียงประกอบด้วย เจี๊ยบ ดี้ และแต๋ง โดยมีเกี๊ยง ขึ้นเวทีในช่วงท้าย
* ''เพลงรักยุคคีตา โดย นกเฉลียง'' ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันที่ 30 มกราคม 2553 เฉลียงประกอบด้วย ฉัตรชัย เกียรติศักดิ์ ศุ และวัชระ ทำการแสดงเพลงที่แต่งขึ้นโดย ฉัตรชัย
* ''วันซ์เพลงรักยุคคีตา อินโดย อะ ไลฟ์ ไทม์ คอนเสิร์ต โพรดิวซ์ บาย ภูษิต ไล้ทองนกเฉลียง'' ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันที่ 20-2130 มีนาคมมกราคม พ.ศ. 2553 เฉลียงประกอบด้วย นก เกี๊ยง จุ้ย และเจี๊ยบ ทำการแสดงเพลงที่แต่งขึ้นโดยนก
* ''วันซ์ อิน อะ ไลฟ์ ไทม์ คอนเสิร์ตสวิงสวาย แบบโพรดิวซ์ วัชระบาย ปานเอี่ยมภูษิต ไล้ทอง'' ที่ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันที่ 520-21 มิถุนายนมีนาคม พ.ศ. 2553 เฉลียงประกอบด้วย แต๋ง (ทั้ง 2 รอบ) ดี้ เกี๊ยง (เฉพาะวันที่ 20 มีนาคม) และเจี๊ยบ (เฉพาะวันที่ 21 มีนาคม)
* ''คอนเสิร์ตเพลงประภาสสวิงสวาย 2แบบ วัชระ ปานเอี่ยม'' ที่โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในวันที่ 9-115 ตุลาคมมิถุนายน 2558พ.ศ. 2553 เฉลียงประกอบด้วย เกียรติศักดิ์เจี๊ยบ ศุดี้ และวัชระแต๋ง ทำการแสดงเพลงที่แต่งขึ้นโดยเกี๊ยง ประภาสและนก
* ''เมจิก โมเมนต์ คอนเสิร์ตเพลงรักของดี้ประภาส ดนตรีของแต๋ง2'' ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์โรงละครเคแบงก์สยามพิฆเนศ ในวันที่ 69-11 พฤษภาคมตุลาคม 2560พ.ศ. 2558 เฉลียงประกอบด้วย นิติพงษ์เกี๊ยง ภูษิตจุ้ย และวัชระเจี๊ยบ ทำการแสดงเพลงที่แต่งขึ้นโดยจิก
* ''เมจิก โมเมนต์ เพลงรักของดี้ ดนตรีของแต๋ง'' ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ในวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 เฉลียงประกอบด้วย ดี้ แต๋ง และเจี๊ยบ
 
=== หนังสือ ===
''ประคำลูกโอ๊ค'' แปลโดย [[มนันยา]] จัดพิมพ์โดย กองทุนเฉลียงเพื่อมอบรายได้ให้มูลนิธิเพื่อเด็กพิการ
 
== สิ่งสืบทอด ==
 
=== ทริบิวท์เฉลียง ===
เส้น 274 ⟶ 277:
* เชษฐา ยารสเอก ในเพลง ''ยังมี''
* [[สครับบ|สครับ]] ในเพลง ''เธอหมุนรอบฉัน ฉันหมุนรอบเธอ''
 
== ละครเวทีร้องเพลงเฉลียง ==
{{บทความหลัก|เดอะ เลเจนด์ ออฟ เร่ขายฝัน เฉลียง เดอะ มิวสิคัล}}
บทเพลงของวงเฉลียงได้ถูกนำมาดัดแปลงใหม่เป็นละครเวทีถึง 2 ครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2552 ใช้ชื่อว่า ''[[เดอะ เลเจนด์ ออฟ เร่ขายฝัน เฉลียง เดอะ มิวสิคัล]]'' แสดงโดยนักแสดงจาก [[ทรู อะคาเดมี่ แฟนเทเชีย]] และครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2559 - 2560 ใช้ชื่อว่า ''นิทานหิ่งห้อย เดอะ มิวสิคัล''
 
== อ้างอิง ==