ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
V i P (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 10:
 
 
'''[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] มีพระบรมราชโองการดำรัสเหนือเกล้าฯ สั่งว่า โดยที่คณะราษฎรได้ขอร้องให้อยู่ใต้ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม เพื่อบ้านเมืองจะได้เจริญขึ้น และโดยที่ได้ทรงยอมรับตามคำร้องของคณะราษฎร จึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้น ไว้โดยมาตราต่อไปนี้'''
 
 
บรรทัด 17:
'''ข้อความทั่วไป'''
 
* '''มาตรา ๑''' อำนาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของราษฎร ทั้งหลาย
* '''มาตรา ๒''' ให้มีบุคคลและคณะบุคคลดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ เป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎรตามที่จะได้กล่าวต่อไปในธรรมนูญ คือ
** ๑. กษัตริย์
** ๒. สภาผู้แทนราษฎร
บรรทัด 25:
 
 
=== หมวด ๒ ===
 
'''กษัตริย์'''
มาตรา ๓ กษัตริย์เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ พระราชบัญญัติก็ดี คำวินิจฉัยของศาลก็ดี การอื่น ๆ ซึ่งจะมีบทกฎหมายระบุไว้โดยฉะเพาะก็ดี จะต้องกระทำในนามของกษัตริย์
 
มาตรา ๔ ผู้เป็นกษัตริย์ของประเทศ คือพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การสืบ มฤดกให้ให้เป็นไปตามกฎมนเทียรบาลว่าด้วยการสืบราช สันตติวงศ์ พ.ศ. ๒๔๖๗ และด้วยความเห็นชอบของสภาผู้ แทนราษฎร
* '''มาตรา ๓''' กษัตริย์เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ พระราชบัญญัติก็ดี คำวินิจฉัยของศาลก็ดี การอื่น ๆ ซึ่งจะมีบทกฎหมายระบุไว้โดยฉะเพาะก็ดี จะต้องกระทำในนามของกษัตริย์
มาตรา ๕ ถ้ากษัตริย์มีเหตุจำเป็นชั่วคราวที่จะทำหน้าที่ ไม่ได้ หรือไม่อยู่ในพระนคร ให้คณะกรรมการราษฎรเป็น ผู้ใช้สิทธิแทน
* '''มาตรา ๔''' ผู้เป็นกษัตริย์ของประเทศ คือพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว การสืบ มฤดกให้ให้เป็นไปตามกฎมนเทียรบาลว่าด้วยการสืบราช สันตติวงศ์ พ.ศ. ๒๔๖๗ และด้วยความเห็นชอบของสภาผู้ แทนผู้แทนราษฎร
มาตรา ๖ กษัตริย์จะถูกฟ้องร้องคดีอาชญายังโรงศาลไม่ได้ เป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรจะวินิจฉัย
* '''มาตรา ๕''' การกระทำใด ๆ ของถ้ากษัตริย์ต้องมีกรรมการราษฎรเหตุจำเป็นชั่วคราวที่จะทำหน้าที่ ผู้หนึ่งผู้ใดลงนามด้วยไม่ได้ โดยได้รับความยินยอมของหรือไม่อยู่ในพระนคร ให้คณะ กรรมการราษฎรจึ่งจะเป็น ผู้ใช้ได้ มิฉะนั้นเป็นโมฆะสิทธิแทน
* '''มาตรา ๖''' กษัตริย์จะถูกฟ้องร้องคดีอาชญายังโรงศาลไม่ได้ เป็นหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรจะวินิจฉัย
* '''มาตรา ๗''' การกระทำใด ๆ ของกษัตริย์ต้องมีกรรมการราษฎร ผู้หนึ่งผู้ใดลงนามด้วย โดยได้รับความยินยอมของคณะ กรรมการราษฎรจึ่งจะใช้ได้ มิฉะนั้นเป็นโมฆะ