ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหรียญ 1 บาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
==เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน 1 บาทในอดีต==
===เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน รัชกาลที่ 9 พ.ศ. 2529-2560===
 
<!--
<!--{{กล่องข้อมูล เหรียญ
| Country = ประเทศไทย
| Denomination = 1 บาท
บรรทัด 41:
| Years of Minting = 2529 - 2551<br/>2551 - 2560
| Catalog Number = -
| Obverse =
| Obverse Design = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]]
| Obverse Designer =
| Obverse Design Date =
| Reverse =
| Reverse Design = อักษรพระปรมาภิไธย วปร ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ
| Reverse Designer =
| Reverse Design Date =
| Obverse = 1 baht Reverse2009.png
| Obverse Design = [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]]
เส้น 60 ⟶ 52:
| Reverse Design Date = 2529|
}}-->
ส่วนเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนราคา 1 บาท รุ่นนี้ ด้านหน้าเป็นภาพพระบรมฉายาลักษณ์ [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] ด้านหลังเป็นภาพของพระศรีรัตนเจดีย์ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] ประกาศออกใช้เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม [[พ.ศ. 2529]]
 
ในปี พ.ศ. 2552 [[กรมธนารักษ์]]ได้ปรับปรุงลวดลายของเหรียญ และเปลี่ยนโลหะที่ใช้ผลิตเหรียญ 1 บาท เป็นโลหะไส้[[เหล็ก]]ชุบ[[นิกเกิล]] น้ำหนักของเหรียญลดลงเป็น 3.00 กรัม จากเดิม 3.40 กรัม โดยที่ยังมีขนาดความหนาและเส้นผ่านศูนย์กลางเท่าเดิม<ref>[http://ecatalog.treasury.go.th/whatsnew/detail.php?id=176 แถลงข่าวออกใช้เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนชุดใหม่] ข่าวจาก[[กรมธนารักษ์]] {{Dead link}}</ref> การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวในระยะเริ่มแรกไม่เป็นที่รับรู้ของประชาชนมากนัก และเหรียญแบบใหม่นี้ยังไม่สามารถใช้กับตู้หยอดเหรียญโดยทั่วไปได้ ทำให้เกิดกระแสข่าวว่าอาจเป็นเหรียญปลอม<ref>[http://www.chiangmainews.co.th/read.php?id=12864 เหรียญบาทเก๊โผล่ที่แผงผัก] ข่าวจากหนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์ {{Dead link}}</ref><ref>[http://www.thairath.co.th/content/region/34677 กรมธนารักษ์เชียงใหม่แจ้ง ไม่มี'บาท'ปลอมระบาด] ข่าวจากไทยรัฐออนไลน์ วันพุธที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2552 {{Dead link}}</ref>