ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โชกุน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
คำว่า "โชกุน" นั้นตัดมาจาก "เซอิไทโชกุน" (征夷大将軍) ที่แปลว่า "ผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพนอกประเทศต่อต้านพวกป่าเถื่อน" (Commander-in-Chief of the Expeditionary Force Against the Barbarians)<ref>''The Modern Reader's Japanese-English Character Dictionary'', {{ISBN|0-8048-0408-7}}</ref> ส่วนคณะเจ้าหน้าที่ของโชกุนนั้นเรียกรวมกันว่า "รัฐบาลโชกุน" (shogunate) หรือ "บากูฟุ" (幕府)<ref name="b321">Beasley, William G. (1955). ''Select Documents on Japanese Foreign Policy, 1853–1868'', p. 321.</ref>
 
โชกุนครองอำนาจที่แทบเบ็ดเสร็จเหนือดินแดนญี่ปุ่นโดยใช้วิธีการทางทหาร ยกเว้นใน[[ยุคคามากูระ]] (ค.ศ. 1199–1333) เมื่อสิ้นโชกุน[[มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ]] แล้ว [[ตระกูลโฮโจ]]ซึ่งถือตำแหน่ง[[ชิกเก็ง]] (ค.ศ. 1199–1256) และ[[โทกูโซ]] (ค.ศ. 1256–1333) ก็ควบคุมรัฐบาลโชกุนไว้ได้ทั้งหมด ทำให้โชกุนตกอยู่ในสภาพเดียวกับจักรพรรดิ คือ เป็นผู้นำแบบหุ่นเชิด ช่วงเวลานี้เรียกว่า "สมัยชิกเก็ง" (執権政治)<ref name="kokushi6">「執権 (一)」(『国史大辞典 6』 (吉川弘文館, 1985) {{ISBN|978-4-642-00506-7}})</ref> จนเกิดรัฐประหารล้มล้างตระกูลโฮโจในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ ค.ศ.1300 1333 เกิดรัฐประหารนำพาทำให้โชกุนกลับสู่การใช้มาบริหารอำนาจในพระนามาภิไธยอีกครั้ง<ref name="kokushi6"/>
 
โชกุนคนสุดท้าย คือ [[โทกูงาวะ โยชิโนบุ]] ผู้สละตำแหน่งนี้ให้แก่[[จักรพรรดิเมจิ]]ใน ค.ศ. 1867<ref>{{cite journal |title=Political Succession in The Tokugawa Bakufu: Abe Masahiro's Rise to Power, 1843–1845 |first=Conrad |last=Totman |journal=Harvard Journal of Asiatic Studies |volume=26 |year=1966 |pages=102–124 |doi=10.2307/2718461 |jstor=2718461}}</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โชกุน"