ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บะซเว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt ย้ายหน้า บะส่วย ไปยัง บะซเว
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ผู้นำประเทศ
|name =บะซเว<br/>{{my|ဘဆွေ}}
|image = Ba Swe and Nu Nu Swe.jpg
|imagesize = 240px
บรรทัด 7:
|term_start = 12 มิถุนายน พ.ศ. 2499
|term_end = 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
|predecessor = [[อูนุนู]]
|successor = [[อูนุนู]]
|birth_date = {{วันเกิด|2458|10|17|df=y}}
|birth_place = [[ทวาย]], [[พม่าของอังกฤษ]]
บรรทัด 28:
}}
 
'''อูบะซเว''' (U Ba Swe) เป็นผู้นำคนสำคัญในขบวนการ[[ทะขิ่นตะคีน]]ในพม่า เป็นผู้เลื่อมใสในลัทธิสังคมนิยม และได้เป็นผู้นำระดับสูงของพม่าหลังได้รับเอกราช และยุติบทบาบทบาททางการเมืองหลังการรัฐประหารของนายพล[[เนวินเนวีน]]
== บทบาทในสมัยอาณานิคม ==
บะซเวเกิดเมื่อ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2458 ที่[[ทวาย]] เคยเข้าศึกษาที่[[มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง]]แต่ไม่จบ และเริ่มมีบทบาททางการเมืองใน พ.ศ. 2477 โดยเข้าร่วมในขบวนการทะขิ่นตะคีน โดยเขาได้ร่วมในการจัดตั้งขบวนการกรรมกรเพื่อกระตุ้นให้กรรมกรเรียกร้องค่าแรงเพิ่มขึ้น แต่ไม่ค่อยได้ผลเพราะกรรมกรส่วนใหญ่เป็น[[พม่าเชื้อสายอินเดีย|ชาวอินเดีย]] ในที่สุดจึงถูกจับคุมขังระยะหนึ่งในช่วง พ.ศ. 2481 หลังจากพ้นโทษออกมา เขาได้จัดตั้งพรรคชาวนาและกรรมกรพม่า เมื่อเกิด[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]นั้น ในช่วงแรกทะขิ่นตะคีนได้ร่วมมือกับ[[บามอว์บะมอ]]จัดตั้งกลุ่มเสรีภาพจนถูกอังกฤษจับขัง จนเมื่อ[[ญี่ปุ่น]]เข้ามาในพม่า บะซเวเป็นหนึ่งในทะขิ่นตะคีนที่ร่วมมือกับญี่ปุ่น จนเมื่อทะขิ่นตั้งตะคีนตั้ง[[สันนิบาตเสรีชนต่อต้านฟาสซิสต์]] บะซเวได้เข้าร่วมในสันนิบาตนี้เช่นกัน
== หลังได้รับเอกราช ==
หลังสงครามโลกสิ้นสุดลง บะซเวได้ร่วมมือกับผู้นำสันนิบาตฯ คนอื่นกำจัดกลุ่มของ[[พรรคคอมมิวนิสต์พม่า]]ออกไปจากพรรคได้สำเร็จ บะซเวยิ่งมีอิทธิพลมากขึ้นหลังการเสียชีวิตของออง ซาน เมื่อพม่าได้รับเอกราชและ[[อูนุเนู]]ป็นเป็นนายกรัฐมนตรี บะซเวได้ผลักดันให้ลัทธิสังคมนิยมเป็นแนวทางทางเศรษฐกิจของพม่า อย่างไรก็ตาม เมื่อเกิดความขัดแย้งในรัฐบาลมากขึ้นระหว่างกลุ่มของทินและอูนุนู กับกลุ่มของบะซเวและ[[จอเย่ง]]
 
บะซเวได้เป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงสั้น ๆ ระหว่าง เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2499 จนถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นช่วงที่อูนุนู ลาอุปสมบท เมื่อลาสิกขาแล้ว อูนุนูจึงมาเป็นนายกรัฐมนตรีต่อ แต่ความขัดแย้งก็ยังไม่สิ้นสุด จนอูนุนูตัดสินใจลาออกใน พ.ศ. 2501 และให้นายพลเนวินเนวีนเข้ามาเป็นรัฐบาลรักษาการ จนมีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2503 กลุ่มของบะซเวและจอเย่งใช้ชื่อว่าสันนิบาตเสรีชนฯฝ่ายมั่นคง ({{my|တည်မြဲဖဆပလ}}, ''Ti myè hpa hsa pa la'') ส่วนกลุ่มของอูนุนูที่เคยใช้ชื่อว่าสันนิบาตเสรีชนฯฝ่ายสะอาด ({{my|သန့်ရှင်းဖဆပလ}}; ''Thant shin hpa hsa pa la'')ได้จัดตั้งพรรคใหม่ชื่อว่าพรรคสหภาพ ({{my|ပြည်ထောင်စုပါတီ}}, ''Pyidaungsu'') พรรคของอูนุชนะนูชนะการเลือกตั้ง <ref name="ms">{{cite book|author=Martin Smith|year=1991|title=Burma – Insurgency and the Politics of Ethnicity|publisher=Zed Books|location=London and New Jersey|pages=54,57,163,176,178,186}}</ref> ส่วนบะซเวและจอเย่งไม่ได้รับเลือกตั้ง อูนุนูจึงได้จัดตั้งรัฐบาลอีก แต่เพราะทหารไม่พอใจนโยบายผ่อนปรนให้ชนกลุ่มน้อย ชาวพม่าและชนกลุ่มน้อยที่ไม่ได้นับถือ[[ศาสนาพุทธ]]ก็ไม่พอใจที่อูนุนูประกาศให้พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ทำให้นายพลเนวินเนวีนก่อการรัฐประหารในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 บะซเวที่แม้จะอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอูนุนูและสนับสนุนฝ่ายทหารกลับถูกรัฐบาลทหารคุมขังอยู่จนถึง พ.ศ. 2509 จึงได้รับการปล่อยตัว และถึงแก่กรรมเมื่อ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2530 รวมอายุได้ 72 ปี
 
บะซเวได้เป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงสั้น ๆ ระหว่าง เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2499 จนถึง เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งเป็นช่วงที่อูนุ ลาอุปสมบท เมื่อลาสิกขาแล้ว อูนุจึงมาเป็นนายกรัฐมนตรีต่อ แต่ความขัดแย้งก็ยังไม่สิ้นสุด จนอูนุตัดสินใจลาออกใน พ.ศ. 2501 และให้นายพลเนวินเข้ามาเป็นรัฐบาลรักษาการ จนมีการเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2503 กลุ่มของบะซเวและจอเย่งใช้ชื่อว่าสันนิบาตเสรีชนฯฝ่ายมั่นคง ({{my|တည်မြဲဖဆပလ}}, ''Ti myè hpa hsa pa la'') ส่วนกลุ่มของอูนุที่เคยใช้ชื่อว่าสันนิบาตเสรีชนฯฝ่ายสะอาด({{my|သန့်ရှင်းဖဆပလ}}; ''Thant shin hpa hsa pa la'')ได้จัดตั้งพรรคใหม่ชื่อว่าพรรคสหภาพ ({{my|ပြည်ထောင်စုပါတီ}}, ''Pyidaungsu'') พรรคของอูนุชนะการเลือกตั้ง <ref name="ms">{{cite book|author=Martin Smith|year=1991|title=Burma – Insurgency and the Politics of Ethnicity|publisher=Zed Books|location=London and New Jersey|pages=54,57,163,176,178,186}}</ref> ส่วนบะซเวและจอเย่งไม่ได้รับเลือกตั้ง อูนุจึงได้จัดตั้งรัฐบาลอีก แต่เพราะทหารไม่พอใจนโยบายผ่อนปรนให้ชนกลุ่มน้อย ชาวพม่าและชนกลุ่มน้อยที่ไม่ได้นับถือ[[ศาสนาพุทธ]]ก็ไม่พอใจที่อูนุประกาศให้พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ทำให้นายพลเนวินก่อการรัฐประหารในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2505 บะซเวที่แม้จะอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับอูนุและสนับสนุนฝ่ายทหารกลับถูกรัฐบาลทหารคุมขังอยู่จนถึง พ.ศ. 2509 จึงได้รับการปล่อยตัว และถึงแก่กรรมเมื่อ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2530 รวมอายุได้ 72 ปี
== อ้างอิง ==
* วิไลเลขา ถาวรธนสาร. ''อูบะส่วย'' ใน สารานุกรมประวัติศาสตร์สากลสมัยใหม่: เอเชีย เล่ม 1 อักษร A-B ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กทม.ราชบัณฑิตยสถาน. 2539. หน้า 398 - 404
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/บะซเว"