ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้คำผิด
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]]
| พระราชมารดา = [[กรมหลวงราชานุรักษ์]]
| พระชายา = พระองค์เจ้าสมบุญคง
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา = พระองค์เจ้าพราน (ปาน)<br>พระองค์เจ้าบุตร<br>พระองค์เจ้าหงส์
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
| ทรงราชย์ =
บรรทัด 28:
 
ส่วนเจ้าฟ้านเรนทรนั้นดำรงเพศบรรพชิตตลอดมา โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงสถาปนาให้[[ทรงกรม]]ที่ ''กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์'' เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ทรงสนิทกับพระองค์เป็นอย่างยิ่ง จนทำให้[[เจ้าฟ้าธรรมธิเบศไชยเชษฐ์สุริยวงศ์|เจ้าฟ้ากรมขุนเสนาพิทักษ์]] เกิดความระแวงและลอบทำร้ายเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์แต่ไม่ทรงได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงกริ้วกรมขุนเสนาพิทักษ์มาก ได้มีพระบรมราชโองการให้จับตัวกรมขุนเสนาพิทักษ์มาให้ได้ แต่ในระหว่างกรมขุนเสนาพิทักษ์ได้เสด็จออกผนวชจึงทรงพ้นจากภัยในครั้งนี้ได้
 
ใน ''คำให้การชาวกรุงเก่า'' ระบุว่าเจ้าฟ้านเรนทรได้พระองค์เจ้าสมบุญคงเป็นพระชายา มีพระธิดาด้วยกันสามพระองค์คือ พระองค์เจ้าพราน (ปาน), พระองค์เจ้าบุตร และพระองค์เจ้าหงส์<ref>''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 174</ref>
 
เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ไม่ปรากฏใน[[พระราชพงศาวดาร]]ว่าสิ้นพระชนม์เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะก่อนที่พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจะทรงสถาปนากรมขุนเสนาพิทักษ์ขึ้นเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]ในปี พ.ศ. 2284
เส้น 81 ⟶ 83:
| isbn =
}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง =| ชื่อหนังสือ = ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง | URL =| พิมพ์ที่ = แสงดาว | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2553 | ISBN = 978-616-508-073-6| จำนวนหน้า =536}}
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา}}