ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมขุนวิมลพัตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lady win (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ภาพ =
| สีพิเศษ = #ffcc00
| สีอักษร = #8f5f12
| ภาพ = ไฟล์:กรมขุนวิมลภักดี.jpg
| พระบรมนามาภิไธย =
| พระปรมาภิไธย =
| พระนาม = พระองค์เมาฬี, แมลงเม่าแมงเม่า
| วันประสูติ = ไม่ปรากฏ
| วันสิ้นพระชนม์ =ไม่ปรากฏ
| พระอิสริยยศ = [[เจ้าต่างกรม]]
| ฐานันดรศักดิ์ = พระอัครมเหสี
| พระบิดา = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]
| พระมารดา = เจ้าจอมมารดาไม่ปรากฏนามศรี
| พระราชสวามี = {{nowrap|[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]}}
| พระอัครมเหสี =
| พระราชโอรส/ธิดา = เจ้าฟ้าหญิงสิริจันทรเทวี
| พระมเหสี =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง|บ้านพลูหลวง]]
| พระราชสวามี =[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]
| พระราชโอรส/ธิดา = เจ้าฟ้าหญิงสิริจันทรเทวี
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ =
| รัชกาลก่อนหน้า =
| รัชกาลถัดมา =
}}
 
'''กรมขุนวิมลพัตร'''<ref name="กรุงเก่า">''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 177</ref> หรือ '''กรมขุนวิมวัต'''<ref name="กรุงเก่า"/> เป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] และเป็นพระอัครมเหสีใน[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] หลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] พระองค์ถูกกวาดต้อนไปประทับ ณ พระราชวังหลวงอังวะจนกระทั่งสวรรคต<ref name="พม่า">''พระราชพงศาวดารพม่า'', หน้า 1135</ref>
'''กรมขุนวิมลภักดี''' ทรงเป็น[[พระอัครมเหสี]]ใน[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] และ[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] ซึ่งทรงได้รับพระราชทานมาจาก[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]]
 
== พระราชประวัติ ==
กรมขุนวิมลภักดี เดิมทรงมีพระนามว่า พระองค์เมาฬีหรือแมลงเม่า<ref>เล็ก พงษ์สมัครไทย. '''เฉลิมพระยศ เจ้านายฝ่ายในในรัชกาลที่ ๑-๙'''. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, 2552. หน้า 16</ref> โดยแต่เดิมพระนางได้เป็นพระชายาและทรงผนวชเป็นชีตาม[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร]] และเมื่อได้ทรงลาผนวชแล้วถวายตนเป็นพระภรรยาเจ้าใน[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]] ทรงได้รับการสถาปนาให้เป็นพระอัครมเหสี สาเหตุที่พระองค์เจ้าแมงเม่าลาผนวชจากชีไปเป็นพระราชินีนั้น เนื่องมาจากสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร ซึ่งไปทรงผนวชอยู่ดำรัสสั่ง ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะเอาใจพระเชษฐา คือสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ก็เป็นได้
กรมขุนวิมลพัตรมีพระนามเดิมว่า'''พระองค์เจ้าแมงเม่า''' บางแห่งออกพระนามว่า '''เม้า''' หรือ'''เมาฬี'''<ref name="พม่า"/> เป็นพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาศรี มีพระเชษฐาและพระภคินีร่วมพระชนกชนนีคือ พระองค์เจ้าหญิงผอบ, พระองค์เจ้าชายสถิต, พระองค์เจ้าชายพงศ์ และพระองค์เจ้าชายแตง<ref>''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 176</ref>
 
เมื่อ[[สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์]]เสวยราชย์ ทรงยกเจ้าแมงเม่าพระภคินีต่างพระชนนีเป็นพระอัครมเหสี<ref name="กรุงเก่า1">''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 129</ref> ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าสถาปนาขึ้นเป็น'''กรมขุนวิมลพัตร'''<ref name="กรุงเก่า"/> และทรงให้มเหสีอื่น ๆ มียศฐาบรรดาศักดิ์เสมอกัน<ref name="หาวัด">''ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง'', หน้า 494</ref> พระนางมีบทบาททางการเมืองระดับหนึ่ง ดังที่บาทหลวงฝรั่งเศสได้เขียนจดหมายเหตุบันทึกไว้ว่า: ''"... บ้านเมืองแปรปรวน เพราะฝ่ายใน [พระราชชายา] ได้มีอำนาจเท่ากับพระเจ้าแผ่นดินผู้มีความผิดฐานกบฏ ฆ่าคนตายเอาไฟเผาบ้านเรือนจะต้องได้รับโทษถึงประหารชีวิต แต่ความโลภของฝ่ายในให้เปลี่ยนเป็นริบทรัพย์สิน ริบได้ก็ตกเป็นของฝ่ายในทั้งสิ้น พวกข้าราชการเห็นความโลภของฝ่ายใน ก็แสวงหาผลประโยชน์กับผู้ต้องหาคดีให้ได้มากที่สุดที่จะหาได้ จะได้แบ่งเอาบ้าง ความเดือดร้อนลำเค็ญก็ยิ่งทับถมราษฎรมากขึ้น..."''<ref>ขจร สุขพานิช. ''ข้อมูลประวัติศาสตร์ : สมัยบางกอก''. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2531. หน้า 269.</ref>
ที่ว่าทำไมสมเด็จพระเจ้าอุทุมพรถึงได้เอาใจสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์นั้น ก็มีเหตุผลอยู่หลายครั้งหลายคราว เช่น เมื่อครั้งที่[[สมเด็จพระเจ้าบรมโกศ]]จะเสด็จสวรรคต ก็ทรงมอบราชสมบัติให้แก่พระอนุชา คือ เจ้าฟ้าอุทุมพร ครั้นเจ้าฟ้าอุทุมพรได้ราชสมบัติแล้ว ทอดพระเนตรเห็นพระเชษฐาเสด็จขึ้นไปอยู่บนพระที่นั่งสุริยามรินทร์ พระองค์ก็ยอมถวายราชสมบัติ แล้วเสด็จไปทรงผนวช แล้วประทับอยู่ที่วัดประดู่ จนได้สมัญญาว่าขุนหลวงหาวัด
 
กรมขุนวิมลพัตรมีพระราชธิดาเพียงพระองค์เดียวคือเจ้าฟ้าหญิงสิริจันทรวดี บางแห่งออกพระนามเป็นศรีจันทเทวี ([[คำให้การขุนหลวงหาวัด]])<ref name="หาวัด"/> หรือเจ้าฟ้าน้อย ([[คำให้การชาวกรุงเก่า]])<ref name="กรุงเก่า"/> หลังประสูติกาลมีการประโคมดนตรีสามครั้งตามโบราณราชประเพณี<ref name="กรุงเก่า1"/>
เมื่อกรุงศรีอยุธยาต้องรับศึกพม่าคราว[[พระเจ้าอลองพญา]]ผ่านพ้นไป โดยฝ่ายไทยเป็นผู้มีชัยแล้ว ขุนหลวงหาวัดก็เสด็จขึ้นเฝ้าพระเชษฐาอยู่เนือง ๆ ตอนนี้เองที่คงจะบังเกิดความคิด ดำรงสั่งให้พระองค์เจ้าแมงเม่า ซึ่งทรงผนวชเป็นชี ลาผนวชออกแล้วนำมาถวายเป็นพระอัครมเหสีพระเชษฐา ทั้งนี้ พระองค์เจ้าแมงเม่าก็คงจะดำรงตำแหน่งอัครมเหสีอยู่ได้โดยไม่สงบสุขนัก เหตุด้วยกรุงศรีอยุธยาประชิดติดพันอยู่กับศึกพม่าตลอดเวลา<ref>สุเนตร ชุตินธรานนท์. ดร. '''พม่ารบไทย'''. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ:มติชน, 2554. หน้า 88</ref>
 
หลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] กรมขุนวิมลพัตรถูกกวาดต้อนไปยัง[[ประเทศพม่า]]<ref name="พม่า"/> โดยพระมหากษัตริย์พม่าได้พระราชทานให้พระองค์รวมทั้งเจ้านายฝ่ายในพระองค์อื่นประทับอยู่ภายในพระราชวังหลวงอังวะ<ref>ศานติ ภักดีคำ, รศ. ดร. (5 มีนาคม 2561). "ตามรอยสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร หรือขุนหลวงหาวัด: จากกรุงศรีอยุธยาสู่กรุงอมรปุระ". ''ศิลปวัฒนธรรม''. (39:5), หน้า 72-92</ref> พระองค์ประทับอยู่ที่นั่นจรกระทั่งเสด็จสวรรคต
ในความเชื่อยุคกรุงรัตนโกสินทร์ยุคปัจจุบัน พระองค์เจ้าแมงเม่าก็มีส่วนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกับพระสนมกำนัลทั้งปวง เนื่องในสาเหตุที่ว่า ก่อความวุ่นวายในพระบรมมหาราชวัง เช่น กราบทูลพระเจ้าเอกทัศน์ว่า ไม่สามารถจะทนต่อเสียงปืนใหญ่ที่ระดมยิงต่อต้านข้าศึกศัตรูได้<ref>จรรยา ประชิตโรมรัน. (2547). '''การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๓๑๐'''. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 185</ref> (ทั้งที่ความจริงยิงโต้ตอบกันจนสุดสามารถ จนไม่สามารถหาดินดำเครื่องกระสุนมาเสริมเนื่องจากถูกปิดล้อม)
 
พระองค์เจ้าแมงเม่าเป็นพระชายาได้ประมาณก่อนที่เจ้าฟ้าอุทุมพรทรงผนวชและพระเจ้าเอกทัศน์ขึ้นครองราชย์พระองค์ดำรงตำแหน่งอัครมเหสี จนเสียกรุงแก่ข้าศึก
 
==อ้างอิง==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
; บรรณานุกรม
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์|นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ]] | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารพม่า | URL =| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา | จังหวัด = นนทบุรี | ปี = 2550 | ISBN = 978-974-7088-10-6| จำนวนหน้า = 1136}}
{{จบอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง =| ชื่อหนังสือ = ประชุมคำให้การกรุงศรีอยุธยา รวม 3 เรื่อง | URL =| พิมพ์ที่ = แสงดาว | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2553 | ISBN = 978-616-508-073-6| จำนวนหน้า =536}}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงศรีอยุธยา}}
{{เรียงลำดับ|วิมลพัตร}}
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งราชอาณาจักรไทย]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]