ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระปารวตี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 10:
| abode = [[เขาไกรลาส]]
| consort = [[พระศิวะ|ศิวะ]]
| parents = [[หิมวัต]]<br>ไมนาวติเมนกา<ref>{{cite book | url=https://books.google.lk/books?id=p6KumJp_wNgC | title=The Triumph of the Goddess: The Canonical Models and Theological Visions of the Devi-Bhagavata Purana | publisher=SUNY Press | author=C. Mackenzie Brown | year=1990}}</ref><ref name = Maina>{{cite book | url=https://books.google.lk/books?id=s3jXAAAAMAAJ | title=Śaivism Under the Imperial Cōl̲as as Revealed Through Their Monuments | author=Sita Narasimhan | year=2006 | pages=100 | isbn=9788188934324}}</ref><!-- Mēṉā or Maiṉāvati, both are in use for name of Parvati's mother among different Hindu traditions -->
| children = [[พระคเณศ|คเณศ]] <br> [[พระขันทกุมาร|ขันทกุมาร]]<br>'''บางแห่งรวม:''' [[อโศกสุนทรี]]
| mount = เสือ[[มนสถล]] <br> สิงโต [[Dawon]] <br> โค[[อุสุภราช|นนทิ]]
บรรทัด 18:
'''ปารวตี''' ({{lang-sa|पार्वती}} ''Pārvatī'') หรือ '''อุมา''' ({{lang-sa|उमा}} ''Umā'') เป็นเทวดาสตรีใน[[ศาสนาฮินดู]] เป็นเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ ความรัก การอุทิศตน ตลอดจนพลังอำนาจศักดิ์สิทธิ์<ref>H.V. Dehejia, Parvati: Goddess of Love, Mapin, {{ISBN|978-8185822594}}</ref><ref>James Hendershot, Penance, Trafford, {{ISBN|978-1490716749}}, pp 78</ref><ref name=suchan>Suresh Chandra (1998), Encyclopaedia of Hindu Gods and Goddesses, {{ISBN|978-8176250399}}, pp 245-246</ref> ถือกันว่า พระนางเป็นด้านอ่อนโยนและเอาใจใส่ของเทวี[[ศักติ]] พระนางยังแสดงพระองค์เป็นหลายด้าน เรียกว่า "ปาง" แต่ละปางเป็นที่รู้จักด้วยหลายชื่อหลายเรื่องราว<ref name=kar6>Keller and Ruether (2006), Encyclopedia of Women and Religion in North America, Indiana University Press, {{ISBN|978-0253346858}}, pp 663</ref> พระนาง พร้อมด้วย[[พระลักษมี]] เทวีแห่งความมั่งคั่งรุ่งเรือง และ[[พระสรัสวดี]] เทวีแห่งความรู้ ประกอบกันเป็นองค์สาม (trinity) ของเทวีฮินดู เรียกว่า [[ตรีเทวี]]<ref>Frithjof Schuon (2003), Roots of the Human Condition, {{ISBN|978-0941532372}}, pp 32</ref>
 
พระนางเป็นพระชายาของ[[พระศิวะ]] เทพเจ้าผู้ปกปักรักษาสรรพชีวิตและทำลายล้างความชั่วร้าย<ref name=edwardbalfour>Edward Balfour, {{Google books|iU0OAAAAQAAJ|Parvati|page=153}}, The Encyclopaedia of India and of Eastern and Southern Asia, pp 153</ref> พระนางเป็นพระธิดาของพระ[[หิมวัต]] เทพแห่งภูเขา กับพระนางไมนาวติเมนกา ผู้เป็นพระชายา<ref name="H.V. Dehejia, Parvati pp 11">H.V. Dehejia, Parvati: Goddess of Love, Mapin, {{ISBN|978-8185822594}}, pp 11</ref> พระนางทรงให้กำเนิด[[พระคเณศ]]กับ[[พระขันทกุมาร]] คัมภีร์[[ปุราณะ]]ยังกล่าวว่า พระนางเป็นพระพี่นางหรือน้องนางของ[[พระวิษณุ]]ซึ่งมีนามที่เรียกนางว่า [[นารายณ์]]ซึ่งแปลว่าน้องสาวของวิษณุนารายณ์ และของ[[แม่น้ำคงคาในศาสนาฮินดู|พระคงคา]]<ref>Edward Washburn Hopkins, {{Google books|-H0eiuvcG5IC|Epic Mythology|page=224}}, pp. 224-226</ref><ref name=wjw295>William J. Wilkins, [https://archive.org/stream/hindumythologyve00inwilk#page/294/mode/2up Uma - Parvati], Hindu Mythology - Vedic and Puranic, Thacker Spink London, pp 295</ref>
 
พระนางกับพระสวามีทรงเป็นเทพศูนย์กลางแห่ง[[ไศวนิกาย]] หรือลัทธิซึ่งถือพระศิวะเป็นใหญ่ ศาสนาฮินดูยังเชื่อว่า พระนางทรงเป็นพลังงานและอำนาจแห่งการสร้างสรรค์ใหม่ของพระสวามี เป็นรากเหง้าของพันธะที่รัดรึงสรรพสิ่งเข้าด้วยกัน และเป็นหนทางแห่งการปลดปล่อยทางจิตวิญญาณ<ref>Ananda Coomaraswamy, Saiva Sculptures, Museum of Fine Arts Bulletin, Vol. 20, No. 118 (Apr., 1922), pp 17</ref><ref>Stella Kramrisch (1975), The Indian Great Goddess, History of Religions, Vol. 14, No. 4, pp. 261</ref>ในเทวาลัยฮินดูที่สร้างถวายพระนางและพระสวามี มักใช้[[โยนี]] (อวัยวะเพศหญิง) เป็นสัญลักษณ์แทนพระนาง<ref>Hariani Santiko, The Goddess Durgā in the East-Javanese Period, Asian Folklore Studies, Vol. 56, No. 2 (1997), pp. 209-226</ref><ref>Ananda Coomaraswamy, Saiva Sculptures, Museum of Fine Arts Bulletin, Vol. 20, No. 118 (Apr., 1922), pp 15-24</ref>