ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 7542465 สร้างโดย 110.169.13.197 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 11:
|succession = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
| father = [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]
| mother = [[นางกุสาวดี]]
| mother = พระราชเทวีสิริกัลยาณี
| spouse =
| issue = [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]]<br>[[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]<br>เจ้าฟ้าหญิงไม่ปรากฏพระนาม<br>เจ้าฟ้าหญิงแก้ว<ref>[http://www.kingdom-siam.org/ayudhya-e.html ราชอาณาจักรสยาม]</ref><br>[[พระองค์เจ้าทับทิม]]<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน?.'' กรุงเทพฯ:มติชน, 2548, หน้า 70</ref>
บรรทัด 29:
 
== พระราชประวัติ ==
[[พระชาติกำเนิดของราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน]] ระบุว่า สมเด็จพระเจ้าเสือนั้น เป็นพระราชโอรสใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] กับพระสนมพระองค์หนึ่ง ปรากฏใน[[พระราชพงศาวดารฯ ฉบับพระพนรัตน์ (แก้ว)]] ว่า นางซึ่งเป็นพระราชธิดาพระเจ้าใน[[พระแสนเมือง|พญาแสนหลวง เจ้าเมืองเชียงใหม่]]<ref name="พิจิตร">[http://student.nu.ac.th/phichit/file/text1_1.html ประวัติ''พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่พนรัตน์ 8วัดพระเชตุพน (พระเจ้าเสือ)] Welcomeตรวจสอบชำระจากเอกสารตัวเขียน'', toหน้า Phichit239-240</ref> โดย[[คำให้การขุนหลวงหาวัด]] ได้ออกพระนามว่า ''พระราชชายาเทวี'' หรือ ''เจ้าจอมสมบุญ'' ส่วนใน[[คำให้การชาวกรุงเก่า]]เรียกว่า ''[[นางกุสาวดี]]''<ref name="sk">สุทธิศักดิ์ ระบอบ สุขสุวานนท์. "พงศาวดารกระซิบเรื่องโอรสลับพระนารายณ์". ในศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 11 กันยายน 2552 กรุงเทพ:สำนักพิมพ์มติชน,2552. หน้า 109</ref>
 
แต่ในเวลาต่อมา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้พระราชทานพระสนมดังกล่าวให้แก่[[สมเด็จพระเพทราชา|พระเพทราชา]] เมื่อครั้งที่ดำรงตำแหน่ง (เจ้ากรมช้าง) โดยในคำให้การของ[[สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร|ขุนหลวงหาวัด]]และคำให้การชาวกรุงเก่า มีเนื้อหาสอดคล้องกัน กล่าวคือนางเป็นสนมลับของพระนารายณ์แต่แตกต่างกันเพียงชื่อของนาง และเหตุผลในการพระราชทานพระโอรสแก่พระเพทราชา แต่พระราชพงศาวดารฯพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ (แก้ว) กลับให้ข้อมูลเกี่ยวกับพระชาติกำเนิดแตกต่างไปจากคำให้การของขุนหลวงหาวัดและคำให้การชาวกรุงเก่า โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงทำศึกสงครามกับเมืองเชียงใหม่แล้วได้ราชธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่เป็นสนม แต่นางสนมเกิดตั้งครรภ์ พระองค์ได้ละอายพระทัยด้วยเธอเป็นนางลาว พระองค์จึงได้พระราชทานแก่พระเพทราชา<ref name="sk" /> ดังความในพระราชพงศาวดารฯ ฉบับพระพนรัตน์ (แก้ว) ความว่า<ref name="st">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุทธยา และพงศาวดารเหนือ''. เล่ม 2. กรุงเทพฯ:องค์การค้าของคุรุสภา, 2504. หน้า 91-94</ref>
 
<blockquote>"แล้วเมื่อพระองค์เสด็จพระราชดำเนินมาจากเมืองเชียงใหม่นั้น พระองค์เสด็จทรงสังวาสด้วยพระราชธิดาเจ้าเมืองเชียงใหม่ และนางนั้นก็ทรงครรภ์ขึ้นมา ทรงพระกรุณาละอายพระทัย จึงพระราชทานนางนั้นให้แก่พระเพทราชา แล้วดำรัสว่านางลาวนี้มีครรภ์ขึ้นมา เราจะเอาไปเลี้ยงไว้ในพระราชวังก็คิดละอายแก่พระสนมทั้งปวง และท่านจงรับเอาไปเลี้ยงไว้ ณ บ้านเถิด และพระเพทราชาก็รับพระราชทานเอานางนั้นไปเลี้ยงไว้ ณ บ้าน"</blockquote>
บรรทัด 37:
โดยเหตุผลของสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ปรากฏในคำให้การชาวกรุงเก่าว่า พระองค์ทรงเกรงว่าพระราชโอรสองค์นี้จะคิดกบฏชิงราชสมบัติอย่างเมื่อคราว[[พระศรีศิลป์]] ส่วนคำให้การของขุนหลวงหาวัดว่า พระองค์ทรงต้องรักษาราชบัลลังก์ให้กับพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระอัครมเหสีเท่านั้น<ref name="sk" />
 
พระราชพงศาวดารฯพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ (แก้ว) จดพระนามเดิมของพระองค์ว่า ''มะเดื่อ''<ref name="st" /><ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุทธยา และพงศาวดารเหนือ''. เล่ม 2. กรุงเทพฯ:องค์การค้าของคุรุสภา, 2504. หน้า 183</ref> ส่วนในหนังสือปฐมวงศ์ของ [[ก.ศ.ร. กุหลาบ]] เรียกว่า ''ดอกเดื่อ''<ref>''ปฐมวงศ์ ฉบับของ ก.ศ.ร. กุหลาบ'', ในอภินิหารบรรพบุรุษและปฐมวงศ์. สุจิตต์ วงษ์เทศ บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ:มิตชน, 2545, หน้า 68</ref> เนื่องจากประสูติใต้ต้นมะเดื่อในแขวงเมืองพิจิตร ขณะพระมารดาเสด็จติดตามออกพระเพทราชาโดยเสด็จสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 (สมเด็จพระนารายณ์) เสด็จขึ้นไปนมัสการ[[พระพุทธชินราช]]และ[[พระพุทธชินสีห์]]ที่[[พิษณุโลก|เมืองพิษณุโลก]]
 
จดหมายเหตุเอนเยลเบิร์ต แกมป์เฟอร์ (Engelbert Kaempfer) นายแพทย์ชาวเยอรมันประจำคณะทูตของบริษัทอีสต์อินเดียของฮอลันดาที่เข้ามาเจริญพระราชไมตรีราชสำนักสยามในปี พ.ศ. 2233 ได้ให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับปีประสูติของออกหลวงสรศักดิ์ว่า เมื่อ พ.ศ. 2233 พระสรศักดิ์ (Peja Surusak) พระมหาอุปราชมีพระชนม์ 20 พรรษา<ref>เอนเยลเบิร์ต แกมป์เฟอร์ เขียน, อัมพร สายสุวรรณ แปล. ''ไทยในจดหมายเหตุแกมป์เฟอร์''. กรุงเทพฯ:กรมศิลปากร, 2545, หน้า 64</ref> แสดงว่าพระองค์ประสูติในปี พ.ศ. 2213<ref name="sk" />
 
=== ทัศนะ ===
อย่างไรก็ตาม [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] มิทรงเชื่อว่าหลวงสรศักดิ์จะเป็นพระราชโอรสลับในสมเด็จพระนารายณ์ ทรงวินิจฉัยว่าในเมื่อหลวงสรศักดิ์รู้อยู่เต็มอกว่าสมเด็จพระนารายณ์คือพระราชบิดา เหตุไฉนจึงร่วมมือกับพระเพทราชาบิดาบุญธรรมปราบดาภิเษกชนกแท้ ๆ ของตน แทนที่จะประจบเอาใจขอราชสมบัติกับพระราชบิดาเมื่อครั้งยังประชวร ส่วนเพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ ว่า [[พระแสนหลวง|พระยาแสนหลวง]] เจ้าผู้ครองเชียงใหม่ที่ตกเป็นเชลยมายังกรุงศรีอยุธยานั้นก็มิได้มีฐานะต่ำต้อยอันใด ซ้ำยังจะดูมีหน้ามีตาเพราะสามารถต่อโคลงกับ[[ศรีปราชญ์]] กวีในรัชกาลได้ ถ้าหากพระยาแสนหลวงเป็นพระสัสสุระของสมเด็จพระนารายณ์จริง ก็น่าจะเป็นที่ความภาคภูมิมากกว่าอับอาย และยังสามารถใช้การเสกสมรสดังกล่าวเป็นเหตุผลทางการเมืองเข้าครอบครองล้านนาผ่านพระชายาได้<ref>เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์. (17 กุมภาพันธ์ 2555). "พระปีย์ vs พระเจ้าเสือ ใครคือโอรสลับของพระนารายณ์?". มติชนสุดสัปดาห์. 32:1644, หน้า 76</ref>
 
== ครองราชย์ ==
บรรทัด 52:
 
== พระอุปนิสัย ==
[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] ระบุว่า<ref name="chan">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ'', หน้า 328</ref>
พงศาวดารบันทึกว่า สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 มีพระอุปนิสัย ทรงมักมากในกามคุณ และทรงชอบการล่าสัตว์ ผู้คนจึงออกพระนามว่า "พระเจ้าเสือ" เปรียบว่าทรงร้ายดังเสือ<ref name="chan">''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม).'' (2553). กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา. ISBN 9786167146089.</ref> โดย[[พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)|พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] บันทึกว่า<ref name = "chan"/>
 
<blockquote>"สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพอพระทัยเสวยน้ำจัณฑ์ แล้วเสพสังวาสด้วยดรุณีอิตถีสตรีเด็กอายุ 11-12 ปี ถ้าสตรีใดเสือกดิ้นโครงไป ให้ขัดเคือง{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} จะลงพระราชอาชญาถองยอดอกตายกับที่ ถ้าสตรีใด ไม่ดิ้นเสือกโครงนิ่งอยู่ ชอบพระอัชฌาสัย พระราชทานบำเหน็จรางวัล</blockquote>
บรรทัด 97:
| 3 = [[นางกุสาวดี]]
| 4 = [[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]]
| 5 = [[พระราชเทวีสิริกัลยาณี]]
| 6 = [[พระแสนเมือง|พญาแสนหลวง]] (พระเจ้าเชียงใหม่)
| 7 = พระชายาในพญาแสนหลวง
| 8 =
| 8 = [[สมเด็จพระเอกาทศรถ]]
| 9 = นางอิน
| 10 =
| 10 = ''ไม่ปรากฎพระนาม''
| 11 =
| 11 = ''ไม่ปรากฎพระนาม''
| 12 = [[พระยาหลวงทิพเนตร]]
| 13 =
| 13 = ''ไม่ปรากฎพระนาม''
| 14 =
| 14 = ''ไม่ปรากฎพระนาม''
| 15 =
| 15 = ''ไม่ปรากฎพระนาม''
}}
</center>
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ลำดับรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
* [[พันท้ายนรสิงห์]]
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|42}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ตรวจสอบชำระจากเอกสารตัวเขียน | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = [[อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง]]| ปี = 2558| ISBN = 978-616-92351-0-1| จำนวนหน้า = 558| หน้า = }} [จัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศลในการพระราชทานเพลิงศพพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร ป.ธ.๔)]
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
{{จบอ้างอิง}}
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 123 ⟶ 130:
|สี3 = #E9E9E9
|รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
|ตำแหน่ง = พระมหากษัตริย์แห่ง[[อาณาจักรพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา]]<br>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2246]] - [[พ.ศ. 2251]]
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระเพทราชา]]<br>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|วาระก่อนหน้า = ([[พ.ศ. 2231]] - [[พ.ศ. 2246]])
|ถัดไป = [[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9]]<br>([[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]])
|วาระถัดไป = ([[พ.ศ. 2251]] - [[พ.ศ. 2275]])
}}
{{จบกล่อง}}
เส้น 136 ⟶ 143:
{{กรมพระราชวังบวรสถานมงคล}}
 
{{อายุขัย|2205|2252}}
{{ประสูติปี|2205}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2252}}
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา|สรรเพชญ์ที่ 8]]
[[หมวดหมู่:กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]