ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โลก (ดาวเคราะห์)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 613:
สัญลักษณ์ทางดาราศาสตร์มาตรฐานของโลกประกอบด้วยกากบาทที่มีวงกลมล้อมรอบอยู่ [[ไฟล์:Earth symbol.svg|18px]]<ref name=liungman2004/> เป็นตัวแทนของสี่มุมโลก
 
วัฒนธรรมมนุษย์พัฒนามุมมองต่าง ๆ ของโลก บางทีโลกก็มี[[มานุษยรูปนิยม|บุคลาธิษฐาน]]เป็น[[เทวดา|เทพเจ้า]] ในหลายวัฒนธรรม เทพมารดา (mother goddess) เป็นเทพเจ้าความอุดมสมบูรณ์หลักด้วย<ref name=":0">{{Cite book |title=Thematic Guide to World Mythology |last=Stookey |first=Lorena Laura |publisher=Greenwood Press |year=2004 |isbn=978-0-313-31505-3 |location=Westport, Conn. |pages=114–15}}</ref> และเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 หลักไกอาเปรียบเทียบสิ่งแวดล้อมของโลกกับสิ่งมีชีวิตเป็นสิ่งมีชีวิตกำกับตัวเองเดี่ยว ๆ ที่นำไปสู่การสร้างเสถียรภาพอย่างกว้างขวางซึ่งภาวะการอยู่อาศัยได้<ref name="vanishing255">Lovelock, James. ''The Vanishing Face of Gaia''. Basic Books, 2009, p. 255. {{ISBN|978-0-465-01549-8}}</ref><ref name="J1972">{{cite journal |last=Lovelock |first=J.E. |title=Gaia as seen through the atmosphere |journal=Atmospheric Environment |year=1972 |volume=6 |issue=8 |pages=579–80 |doi=10.1016/0004-6981(72)90076-5 |publisher=Elsevier |issn=1352-2310 |ref=harv |bibcode=1972AtmEn...6..579L}}</ref><ref name="lovelock1974">{{cite journal |last1=Lovelock |first1=J.E. |last2=Margulis |first2=L. |title=Atmospheric homeostasis by and for the biosphere: the Gaia hypothesis |journal=Tellus |year=1974 |volume=26 |series=Series A |issue=1–2 |pages=2–10 |doi=10.1111/j.2153-3490.1974.tb01946.x |url=http://tellusa.net/index.php/tellusa/article/view/9731 |accessdate=20 October 2012 |publisher=International Meteorological Institute |location=Stockholm |issn=1600-0870 |ref=harv |bibcode=1974Tell...26....2L}}</ref> ปรัมปราการสรรค์สร้างในหลายศาสนามีว่า เทพเจ้าเหนือธรรมชาติพระองค์เดียวหรือหลายพระองค์ทรงสร้างโลก<ref name=":0" />
 
การสอบสวนทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในมุมมองของมนุษย์ต่อโลก ในโลกตะวันตก ความเชื่อเรื่องโลกแบน<ref name=russell1997/> ถูกแทนด้วยโลกทรงกลมอันเนื่องจากพีทาโกรัสในศตวรรษที่ 6 ก่อนคริสตกาล<ref>{{cite web |url=https://archive.org/details/livesnecromance04godwgoog |title=Lives of the Necromancers |first1=William |last1=Godwin |year=1876 |page=49}}</ref> ต่อมาเชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของเอกภพจนคริสต์ศตวรรษที่ 16 เมื่อนักวิทยาศาสตร์ตั้งทฤษฎีว่าโลกเป็นวัตถุเคลื่อที่โดยเทียบกับดาวเคราะห์อื่นใน[[ระบบสุริยะ]]ครั้งแรก เนื่องจากความพยายามของนักวิชาการคริสต์ศาสนิกชนผู้ทรงอิทธิพลและนักบวชอย่างเจมส์ อัชเชอร์ ผู้มุ่งหาอายุของโลกผ่านการวิเคราะห์พงศาวลีวิทยาในคัมภีร์ไบเบิล ชาวตะวันตกก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยทั่วไปจึงเชื่อว่าโลกมีอายุเก่าสุดไม่กี่พันปี<ref name=arnett20060716/> จนระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่นักธรณีวิทยาทราบว่าโลกมีอายุหลายล้านปีแล้ว<ref>{{Cite book |title=Physical Geology: Exploring the Earth |last=Monroe |first=James |publisher=Thomson Brooks/Cole |year=2007 |isbn=978-0-495-01148-4 |location= |pages=263–65 |last2=Wicander |first2=Reed |last3=Hazlett |first3=Richard}}</ref>
 
ลอร์ดเคลวินใช้[[อุณหพลศาสตร์]]คาดคะเนอายุของโลกไว้ระหว่าง 20 ถึง 400 ล้านปีในปี 1864 ทำให้เกิดการอภิปรายอย่างเข้มข้นในเรื่องนี้ จนเมื่อมีการค้นพบกัมมันตภาพรังสีและการวัดอายุจากกัมมันตรังสีในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่มีกลไกน่าเชื่อถือสำหรับการหาอายุของโลก พิสูจน์ว่าโลกมีอายุในหลักพันล้านปี<ref>{{Cite book |title=An Equation for Every Occasion: Fifty-Two Formulas and Why They Matter |last=Henshaw |first=John M. |publisher=Johns Hopkins University Press |year=2014 |isbn=978-1-421-41491-1 |location= |pages=117–18}}</ref><ref>{{Cite book |title=Lord Kelvin and the Age of the Earth |last=Burchfield |first=Joe D. |publisher=University of Chicago Press |year=1990 |isbn=978-0-226-08043-7 |location= |pages=13–18}}</ref> มโนทัศน์ของโลกเปลี่ยนอีกครั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อมนุษย์มองโลกครั้งแรกจากวงโคจร และโดยเฉพาะอย่างยิ่งโดยภาพถ่ายของโลกที่โครงการอะพอลโลส่งกลับมา<ref>{{cite news |url=http://alcalde.texasexes.org/2012/06/neil-degrasse-tyson-on-why-space-matters-watch/ |title=Neil deGrasse Tyson: Why Space Matters |work=[[The Alcalde]] |first=Rose |last=Cahalan |date=5 June 2012 |accessdate=21 January 2016}}</ref>
 
== เชิงอรรถ ==