ล
ย้อนการแก้ไขของ 1.47.135.203 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot
ลมฟ้าอากาศ ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ล ย้อนการแก้ไขของ 1.47.135.203 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย JBot ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว ทำกลับ |
||
บรรทัด 1:
{{สภาพอากาศ}}
'''ลมฟ้าอากาศ''' ({{lang-en|weather}}) เป็นสถานะของบรรยากาศ ถึงระดับที่ว่าบรรยากาศร้อนหรือเย็น เปียกหรือแห้ง สงบหรือมีพายุ เปิดหรือมีเมฆ<ref>Merriam-Webster Dictionary. [http://www.merriam-webster.com/dictionary/weather Weather.] Retrieved on 27 June 2008.</ref> ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศส่วนมากเกิดขึ้นในชั้น[[โทรโพสเฟียร์]]<ref>Glossary of Meteorology. [http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?p=1&query=hydrosphere&submit=Search Hydrosphere.] Retrieved on 27 June 2008.</ref><ref name="trop">Glossary of Meteorology. [http://amsglossary.allenpress.com/glossary/browse?s=t&p=51 Troposphere.] Retrieved on 27 June 2008.</ref> ใต้ชั้น[[สตราโทสเฟียร์]] ลมฟ้าอากาศโดยทั่วไปหมายถึงอุณหภูมิวันต่อวันและกิจกรรม[[หยาดน้ำฟ้า]] ขณะที่[[ภูมิอากาศ]] (climate) เป็นคำใช้กับสภาพบรรยากาศโดยเฉลี่ยเป็นระยะเวลานาน<ref>{{cite encyclopedia | title = Climate | encyclopedia = Glossary of Meteorology | publisher = [[American Meteorological Society]] | url = http://amsglossary.allenpress.com/glossary/search?id=climate1 | accessdate =14 May 2008 }}</ref>
ลมฟ้าอากาศเกิดจากความแตกต่างของแรงดันอากาศ (อุณหภูมิและความชื้น) ระหว่างที่หนึ่งกับอีกที่หนึ่ง ความแตกต่างของความดันและอุณหภูมิเหล่านี้สามารถเกิดขึ้นเนื่องจากมุมของดวงอาทิตย์ที่จุดหนึ่ง ๆ ซึ่งแตกต่างกันโดย[[ละติจูด]]จาก[[เขตร้อน]] ความแตกต่างของอุณหภูมิที่มากระหว่างอากาศ
จากนั้น ความแตกต่างของอุณหภูมิพื้นผิวทำให้เกิดความแตกต่างของความดัน ที่ระดับความสูงสูงกว่าจะเย็นกว่าที่ระดับความสูงต่ำกว่าเนื่องจากความแตกต่างของความร้อนจากการบีบอัด การพยากรณ์อากาศเป็นการประยุกต์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อพยากรณ์สภาพของ[[บรรยากาศโลก|บรรยากาศ]]ในเวลาอนาคตและในที่ตั้งหนึ่ง ๆ บรรยากาศเป็น[[ทฤษฎีอลวน|ระบบอลวน]] ฉะนั้นการเปลี่ยยแปลงเล็กน้อยต่อส่วนหนึ่งของระบบสามารถพัฒนาไปมีผลกระทบใหญ่หลวงต่อระบบโดยรวมได้ ความพยายามของมนุษย์ในการควบคุมลมฟ้าอากาศมีตลอดประวัติศาสตร์มนุษย์ และมีหลักฐานว่ากิจกรรมของมนุษย์อย่าง เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบลมฟ้าอากาศโดยมิได้ตั้งใจ
บรรทัด 8:
การศึกษาว่าลมฟ้าอากาศทำงานอย่างไรบนดาวเคราะห์ดวงอื่นนั้นมีประโยชน์ในการทำความเข้าใจว่าลมฟ้าอากาศบนโลกทำงานอย่างไร จุดสังเกตที่มีชื่อเสียงใน[[ระบบสุริยะ]] [[จุดแดงใหญ่]]บน[[ดาวพฤหัสบดี]] เป็นพายุแอนติไซโคลนซึ่งรู้จักกันว่ามีมาแล้วอย่างน้อย 300 ปี อย่างไรก็ดี ลมฟ้าอากาศมิได้จำกัดอยู่เฉพาะบนดาวเคราะห์เท่านั้น ชั้น[[โคโรนา]]ของ[[ดาวฤกษ์]]สูญหายไปในอวกาศอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดเป็นสิ่งที่เป็นบรรยากาศบาง ๆ ทั่วระบบสุริยะ การเคลื่อนที่ของแก๊สที่พุ่งออกจากดวงอาทิตย์เรียกว่า [[ลมสุริยะ]]
== อ้างอิง ==
[[หมวดหมู่:สภาพอากาศ| ]]▼
{{รายการอ้างอิง}}
|