ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาแล็กซ็องดร์ อัศวินแห่งโชมง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่ตรงกับ พ.ศ. ที่คำนวณอัตโนมัติ
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
เขาได้รับแต่งตั้งให้เป็น[[ราชทูต]] ตำแหน่ง "อัศวินแห่งโชมง" ไปยัง[[กรุงศรีอยุธยา]]ในรัชสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์]]
 
คณะทูตดังกล่าว นอกจากอาแล็กซ็องดร์แล้ว ยังมีบาทหลวงโรมันคาทอลิก ได้แก่ บาทหลวง[[ฟร็องซัว-ตีมอเลอง เดอ ชัวซี]] (François-Timoléon de Choisy), บาทหลวง[[กี ตาชาร์]] (Guy Tachard) จาก[[คณะเยสุอิต]], และบาทหลวง[[เบนีญ วาเช]] (Bénigne Vachet) จาก[[คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส]] เดินทางไปกรุงศรีอยุธยาพร้อมด้วยคณะทูตที่สมเด็จพระนารายณ์ทรงส่งไปกรุงปารีสก่อนหน้านี้ใน พ.ศ. 2226 ซึ่งมี[[เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน)]] เป็นหัวหน้า<ref>Asia in the Making of Europe By Donald F. Lach, p.253 [http://books.google.com/books?id=UJJVYZ0q8UAC&pg=PA253&dq=Benigne+Vachet&sig=IWUus8BJEH-_WSWfttD0Mtl2guQ]</ref>
 
อาแล็กซ็องดร์ได้พยายามชักชวนให้สมเด็จพระนารายณ์เข้ารีตเป็น[[คริสต์ศาสนิกชน]]นิกายโรมันคาทอลิก เพื่อให้การเจรจาทำสัญญาทางการค้าสำคัญหลายฉบับเป็นไปอย่างราบรื่นขึ้น แต่การนี้ไม่ประสบความสำเร็จ