ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาจีนกลาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ครับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
}}
 
'''ภาษาจีนกลาง''' ([[อักษรจีนตัวเต็ม|จีนตัวเต็ม]]: 官話, [[อักษรจีนตัวย่อ|จีนตัวย่อ]]: 官话, [[พินอิน]]: Guānhuà, [[ภาษาอังกฤษ]]: Mandarin) เป็นภาษาหลักของ[[ภาษาจีน]]และเป็น 1 ใน 6 ของภาษาราชการของ[[สหประชาชาติ]] ในปัจจุบันมีผู้ใช้มากกว่า 800 ล้านคนทั่วโลก
'''ภาษาไทย ภาษาไทยคนไทยใช้เรียกภาษาหลักของจีน ในประเทศไต้หวันกับสิงคโปร์เรียกภาษานี้ เป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกตัวเองในปัจจุบัน สำหรับประเทศจีนจะเรียกภาษานี้ว่าภาษาจีน ใช้เรียก เป่ยฟางฮว่า ("ภาษาพูดทางเหนือ") ซึ่งเป็นประเภทที่ประกอบด้วยภาษาย่อยต่าง ๆ ของภาษาจีนที่ใช้ในทางตอนเหนือและตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ซึ่งความหมายนี้มักจะพบในบริบททางวิชาการ และจะใช้ความหมายนี้ในบทความนี้ โดยที่ผู่ตงฮั่วและกั๋วอวี่ จะใช้ชื่อจีนเรียก รวมถึงใช้ "ภาษาจีนกลางมาตรฐาน" และ "ภาษาจีนมาตรฐาน" เรียก สวัสดดดี'''
 
¤®©©®¤
 
== ชื่อภาษาจีนกลาง ==
'''ภาษาจีนกลาง''' เป็นคำที่คนไทยใช้เรียกภาษาหลักของจีน ในประเทศไต้หวันกับสิงคโปร์เรียกภาษานี้ว่า '''ฮวา-ยวี่''' (อักษรจีน: 華語) แปลว่าภาษาฮวา ซึ่งคำว่า '''ฮวา''' หรือ '''ฮวาเยริน''' (อักษรจีน: 華人) เป็นคำที่ชาวจีนใช้เรียกตัวเองในปัจจุบัน สำหรับประเทศจีนจะเรียกภาษานี้ว่า '''ฮั่นยวี่''' (อักษรจีน: 漢語) แปลว่า ภาษาฮั่น อันป็นภาษาของชาวฮั่น