ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอนาหมื่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 59:
|-
| <Center>
<center> TBAกุมภาพันธ์ หรือ มีนาคม (๑๕ ค่ำ เดือน ๓) / บ้านน้ำอูน [[ตำบลเมืองลี]] [[อำเภอนาหมื่น]]</center>
|-
| colspan="3" style="text-align: left;" | '''พระธาตุน้ำอูน''' ได้เริ่มก่อสร้างเมื่อปี ๒๕๕๔ ซึ่งได้ใช้งบประมาณในการก่อสร้างด้วยการบริจาคจากศรัทธาของ วัดน้ำอูนและผู้มีจิตศรัทธา เหตุผลที่พุทธศาสนิกชนได้ร่วมกันก่อสร้างก็เพื่อให้คณะศรัทธาวัดน้ำอูนได้สักการะบูชา เนื่องจากในพระธาตุได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คณะศรัทธามีความเห็นร่วมกันว่าจะร่วมกันทำบุญสักการะพระธาตุในวันมาฆบูชา (๖ เป็งเหนือ) และมีความสำคัญทางพระพุทธศาสนาคือ เป็นวันที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์แก่พระสงฆ์เป็นครั้งแรกและได้เกิดเหตุอัศจรรย์ขึ้นพร้อมกันถึง ๔ ประการ คือ ๑. วันนั้นตรงกับวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ ซึ่งพระจันทร์เสวกมาฆฤกษ์ ๒. มีพระสงฆ์จำนวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย ณ วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ เพื่อสักการะพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ ๔. พระสงฆ์ทั้งหมดได้รับการอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้า หรือ เอหิภิกขุอุปสัมปทา และเพราะเกิดเหตุ ๔ ประการข้างต้นทำให้วันมาฆบูชาเรียกอีกอย่างว่า วันจาตุรงคสันนิบาต<ref>http://www.muanglee.com/tradition</ref>
 
 
บรรทัด 69:
|-
| <Center>
<center> TBAกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม (เดือน ๔ และ ๖ เหนือ ขึ้น ๑๒ ค่ำ และ แรม ๑๒ ค่ำ) / [[ตำบลเมืองลี]] [[อำเภอนาหมื่น]]</center>
|-
| colspan="3" style="text-align: left;" | '''เลี้ยงอาญาปัว''' ในสมัยอดีตกาลการก่อตั้งตำบลเมืองลีเริ่มแรกโดยปกติชุมชนเริ่มแรกเป็นชนเผ่าลัวะขมุที่เดินทางมาจากทางสายเหนือคือ อำเภอปัว เข้ามาเริ่มก่อตั้งหมู่บ้านเล็กๆ แต่สิ่งที่ผู้คนในสมัยนั้นได้นำมาคือ ระบบการปกครองผู้นำชนเผ่า หรือหัวหน้าหมู่บ้าน สิ่งที่สามารถยึดเหนี่ยวความสัมพันธ์ในชุมชนคือ ต้องมีสิ่งที่ นำความเชื่อถือ ศักดิ์สิทธิ์ เคารพบูชา เป็นหลักในการดำรงชีวิต ในปัจจุบันการสักการบูชาอาชญาปัวมีการกำหนดการในการ บนบานศาลกล่าวไว้ ๒ ครั้ง คือ เดือน ๔ เหนือ ขึ้น ๑๒ ค่ำ และ แรม ๑๒ ค่ำ หรือเรียกตามภาษาพื้นบ้าน (การแก้บนของคนใน) เดือน ๖ เหนือ ขึ้น ๑๒ ค่ำ – แรม ๑๒ ค่ำ ถือเป็นรอบการแก้บนโดยปกติ การแก้บนโดยทั่วไปสามารถบนบานศาลกล่าวได้ ทั้งเงิน(ของแดง) หมู(ลักษณะสีดำเท่านั้น) และไก่ ก่อนที่อาชญาปัวจะมาเข้าทรงจะมีช่างซอ ช่างฟ้อน บรรเลงเพลงเพื่ออัญเชิญให้อาชญาปัวมาเข้าทรงที่ร่างทรง ร่างทรงของอาชญาปัวจะเป็นผู้หญิงและการทำพิธีสักการะจะทำในช่วงบ่ายของวันนั้น ๆ เมื่อเสร็จพิธีแก้บนแล้วจะมีการทำบายศรีสู่ขวัญให้กับร่างทรง โดยเชื่อกันว่าเป็นการเรียกขวัญของร่างทรงให้กลับมาอยู่กับเนื้อกับตัว หลังจากที่ขวัญได้ออกจากร่างไปในช่วงที่อาชญาปัวมาเข้าทรง
บรรทัด 78:
|-
| <Center>
<center> ทุกเดือนมิถุนายน หรือ พฤษภาคม (เป็งเหนือ๑๕ ค่ำ เดือน ๖) / บ้านนาหมอ [[ตำบลเมืองลี]] [[อำเภอนาหมื่น]]</center>
|-
| colspan="3" style="text-align: left;" | ตำบลเมืองลี มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพบูชาและมีพิธีทางศาสนาสืบเนื่องกันมานานแล้วก็คือ '''ผาช้าง''' จะมีการจัดงานไหว้สาผาช้างทุกๆปี เพื่อเป็นการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำตำบลเมืองลี และเป็นการสืบสานวัฒนธรรมจารีตประเพณีพื้นบ้าน ซึ่งจะมีการจุดบั้งไฟบูชาเพื่อเป็นการสักการะผาช้าง เนื่องจากมีความเชื่อว่าจะทำให้ ฝนตกตามฤดูกาล พืชผลไร่นาอุดมสมบูรณ์ ประเพณีไหว้สาผาช้างจะจัดขึ้นในวันวิสาขบูชาของทุกปี เนื่องจากวันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ คือเกิด ได้ตรัสรู้ คือสำเร็จ ได้ปรินิพพาน คือการดับขันธ์ของพระพุทธเจ้า<ref>http://www.muanglee.com/tradition</ref>