ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎบัตรเนือร์นแบร์ค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Nuremberg-1-.jpg|คณะจำเลยในคอกจำเลยระหว่าง[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก]]ราว ค.ศ. 1945-1946|right|thumb|250px]]
 
'''ธรรมนูญกรุงลอนดอนว่าด้วยศาลทหารกฎบัตรคณะตุลาการทหารระหว่างประเทศ แนบท้ายความตกลงว่าด้วยการดำเนินคดีและลงโทษอาชญากรสงครามรายใหญ่ของอักษะยุโรป''' ({{lang-en|London Charter of the International Military Tribunal – Annex to the Agreement for the prosecution and punishment of the major war criminals of the European Axis}}) หรือมักเรียกโดยย่อว่า '''ธรรมนูญกรุงลอนดอนฯกฎบัตรเนือร์นแบร์ก''' ({{lang-en|LondonNuremberg Charter}}) หรือ '''ธรรมนูญเนือร์นแบร์กกฎบัตรลอนดอน''' ({{lang-en|NurembergLondon Charter}}) เป็นกฤษฎีกาซึ่งตราขึ้นที่[[คณะกรรมการที่ปรึกษายุโรป]] (European Advisory Commission) ออกเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1945 เพื่อกำหนดระเบียบและวิธีพิจารณา[[การพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก|คดีเนือร์นแบร์ก]]
 
ธรรมนูญกรุงลอนดอนฯ กฎบัตรกำหนดให้พิจารณาคดีความผิดอาญาซึ่งกระทำลงโดย[[ฝ่ายอักษะ]]ของยุโรป ความผิดอาญาเหล่านี้จำแนกไว้เป็นสามประเภท คือ [[ความผิดอาญาสงคราม]], ความผิดอาญาต่อความสงบเรียบร้อย และ[[ความผิดอาญาต่อมนุษยชาติ]] ธรรมนูญฯ กฎบัตรห้ามยกการดำรงตำแหน่งหน้าที่ราชการขึ้นอ้างเป็นข้อต่อสู้ในความผิดอาญาสงคราม ส่วนการปฏิบัติตามคำสั่งทั้งหลายจะเป็นเครื่องบรรเทาโทษก็ต่อเมื่อคณะตุลาการเห็นว่าพึงเป็นเช่นนั้นเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม
 
วิธีพิจารณาความอาญาที่คณะตุลาการใช้นั้นใกล้เคียงกับที่ใช้อยู่ใน[[ระบบซีวิลลอว์]]ยิ่งกว่าของ[[คอมมอนลอว์]] โดยเป็นการพิจารณาคดีด้วยตุลาการ มากกว่าเป็นการพิจารณาโดยใช้ลูกขุน กับทั้งยังรับฟัง[[พยานบอกเล่า]] (hearsay evidence) เป็นอันมากด้วย จำเลยที่พบว่ากระทำความผิดจะอุทธรณ์คำพิพากษาต่อสภาควบคุมของฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ อนึ่ง จำเลยชอบจะนำเสนอพยานหลักฐานเพื่อสนับสนุนข้อต่อสู้ของตน และเพื่อถามค้านพยานบุคคลทั้งหลายได้
 
ธรรมนูญฯ กฎบัตรนี้พัฒนาขึ้นโดยอาศัยอำนาจแห่ง[[ปฏิญญามอสโก]] ซึ่งเรียกว่า "แถลงการณ์ว่าด้วยความอำมหิต" (Statement on Atrocities) ที่ตกลงกันในการประชุม ณ กรุงมอสโกเมื่อ ค.ศ. 1943 แล้วยกร่างขึ้นที่กรุงลอนดอน หลังจากเยอรมนียอมจำนนใน[[วันแห่งชัยชนะในทวีปยุโรป]] (VE Day) การยกร่างดังกล่าวนี้เป็นผลงานของ รอเบิร์ต เอช. แจ็กสัน (Robert H. Jackson), รอเบิร์ต ฟาลโค (Robert Falco) และ อีโอนา นิคิตเชนโก (Iona Nikitchenko) ทั้งเป็นกรรมาธิการที่ปรึกษาแห่งยุโรป (European Advisory Commission) แล้วจึงประกาศใช้ธรรมนูญฯ กฎบัตรเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม ค.ศ. 1945
 
ธรรมนูญฯ กฎบัตรนี้ และบทอธิบายศัพท์ "ความผิดอาญาต่อความสงบเรียบร้อย" ในธรรมนูญฯกฎบัตร ยังเป็นแม่แบบแห่งกฎหมายฉบับหนึ่งของประเทศฟินแลนด์ ซึ่งรัฐสภาแห่งฟินแลนด์อนุมัติเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1945 เปิดช่องให้พิจารณาคดีความรับผิดชอบทางสงครามในประเทศฟินแลนด์ได้ด้วย
 
[[หมวดหมู่:พ.ศ. 2488]]
[[หมวดหมู่:ธรรมนูญศาล]]
[[หมวดหมู่:กฎบัตร]]
[[หมวดหมู่:กฎแห่งสงคราม]]
[[หมวดหมู่:การเมืองในสงครามโลกครั้งที่สอง]]