ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอนาหมื่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 46:
|-
| rowspan="2" colspan="2" style="text-align: center;" | TBA
|<Center>'''ประเพณีนมัสการพระธาตุเมืองลีศรีน้ำอูน'''
|-
| <Center>
บรรทัด 72:
|-
| colspan="3" style="text-align: left;" | ตำบลเมืองลี มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นที่เคารพบูชาและมีพิธีทางศาสนาสืบเนื่องกันมานานแล้วก็คือ '''ผาช้าง''' จะมีการจัดงานไหว้สาผาช้างทุกๆปี เพื่อเป็นการบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจำตำบลเมืองลี และเป็นการสืบสานวัฒนธรรมจารีตประเพณีพื้นบ้าน ซึ่งจะมีการจุดบั้งไฟบูชาเพื่อเป็นการสักการะผาช้าง เนื่องจากมีความเชื่อว่าจะทำให้ ฝนตกตามฤดูกาล พืชผลไร่นาอุดมสมบูรณ์ ประเพณีไหว้สาผาช้างจะจัดขึ้นในวันวิสาขบูชาของทุกปี เนื่องจากวันวิสาขบูชา เป็นวันสำคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ คือเกิด ได้ตรัสรู้ คือสำเร็จ ได้ปรินิพพาน คือการดับขันธ์ของพระพุทธเจ้า
|-
|colspan="3" style="background:Darkseagreen;"| <span style="color:white;"><Center>'''ตำบลนาทะนุง'''
|-
| rowspan="2" colspan="2" style="text-align: center;" | TBA
|<Center>'''ประเพณีสืบชะตาหลวงและสืบชะตาข้าว'''
|-
| <Center>
<center> วัดนาทะนุง [[ตำบลนาทะนุง]] [[อำเภอนาหมื่น]]</center>
|-
| colspan="3" style="text-align: left;" |
'''การสืบชะตาข้าว''' ในสมัยโบราณเมื่อรู้สึกว่าคนในครอบครัวกิน ข้าวเปลือง ข้าวเปลือก ในยุ้งพร่องลงไปมากผิดปกติ เจ้าของข้าวเกิดความกลัวว่าข้าวจะไม่พอกินจนถึงฤดูการเก็บเกี่ยวในปีต่อไป จึงจัดพิธีสืบชะตาข้าวขึ้น พิธีนี้เป็นพิธีมงคลที่สำคัญประการหนึ่ง จึงต้องหาวันที่เป็นมงคลก่อน เชื่อว่าถ้าทำพิธีในวันที่ไม่เป็นมงคล ขวัญข้าวจะไม่มารับเครื่องสังเวย อนึ่งการสืบชะตาข้าวเป็นพิธีกรรมในการเรียกขวัญข้าวหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อเป็นการขอขมาและขอบคุณแม่โพสพหรือเทพีแห่งข้าว และยังเป็นพิธีที่เชื่อกันว่าจะทำให้ข้าวไม่หายและหมดไปจากยุ้งฉางเร็วอีกด้วย
<br>'''การสืบชะตาหลวง''' หมายถึงการ สืบชะตาบ้าน และสืบชะตาคนพร้อมกันของคณะศรัทธาวัดนาทะนุง โดยทุกคนจะร่วมกันจัดเตรียมเครื่องใช้ในการประกอบพิธี การประกอบพิธีกรรมสืบชะตาจะเป็นพิธีทางสงฆ์ จะมีการสวดเจริญพุทธมนต์ก่อน และตามด้วยบทสวดสืบชะตา โดยจะทำพร้อมกับการสืบชะตาข้าว เป็นประเพณีที่จัดขึ้นทุกปีในเดือนสี่เป็ง โดยเริ่มพิธีนับแต่วันขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือนสี่เหนือ (เดือน ๒ ของทางภาคกลาง) โดยจะเสร็จสิ้นในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนสี่เหนือ หรือในท้องถิ่นเรียกสี่เป็ง(วันเพ็ญเดือน ๒ ของทางภาคกลาง) การทำพิธีสืบชะตาเป็นการสืบทอดองค์ความรู้มาจากบรรพบุรุษ โดยผู้เฒ่าผู้แก่ในหมู่บ้านได้มีการถือปฏิบัติสืบทอดกันมาตั้งแต่ บรรพบุรุษ
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==