ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
}}
 
'''สาขาวิชานิติศาสตร์''' [[มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช]] ก่อตั้งขึ้นในปี [[พ.ศ. 2523]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2523/A/040/5.PDF ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่อง การจัดตั้งสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช], เล่ม ๙๗, ตอน ๔๐, ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๒๓, ฉบับพิเศษ หน้า ๕</ref> โดยสาขาวิชานิติศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่เปิดทำการเรียนการสอนในสาขานิติศาสตร์เป็นอันดับที่ 4 ของประเทศไทย '' (รองจาก[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย]] และ[[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]) ''และมหาวิทยาลัยอันดับที่ 6 ของประเทศไทยที่เปิดสอนในสาขาวิชานิติศาสตร์ (รองจาก [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยศรีปทุม]] [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]และ[[มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์]]) ปัจจุบันสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เปิดทำการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับหลักสูตรประกาศนียบัตรทางกฎหมาย จนถึงหลักสูตรปริญญาทางนิติศาสตร์
 
ปัจจุบัน ปริญญาทางนิติศาสตร์ จากสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้รับการรับรองจาก[[เนติบัณฑิตยสภา]]<ref>[http://www.thaibar.thaigov.net/Service/stu_regis.htm รายชื่อสถาบันการศึกษาที่เนติบัณฑิตยสภารับรองในปัจจุบัน. จากเว็บไซต์'''เนติบัณฑิตยสภา''']</ref> ผู้ได้รับปริญญาทางนิติศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สามารถสมัครเข้าเป็นนักศึกษา ของสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภาและสามารถสอบไล่เพื่อเป็น[[เนติบัณฑิตไทย]]ได้ '' (น.บ.ท.) ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2507/A/035/240.PDF ข้อบังคับเนติบัณฑิตยสภา​พ.ศ. ๒๕๐๗], เล่ม ๘๑, ตอน ๓๕ก, ๒๑​เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๓, หน้า ๒๔๒</ref> และผู้ได้รับปริญญาทางนิติศาสตร์ จากสาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สามารถสมัครเป็นวิสามัญสมาชิกเนติบัณฑิตยสภาได้ ซึ่งทำให้ผู้ได้รับปริญญาทางนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชมีสิทธิสวมเสื้อครุยเนติบัณฑิตได้ และหากได้ผ่านการอบรมวิชาว่าความจาก[[สภาทนายความ]]แล้ว สามารถขอขึ้นทะเบียนเป็นทนายความได้โดยไม่ต้องสอบไล่ได้เนติบัณฑิตไทยก่อน<ref>การสมัครสมาชิกวิสามัญแห่งเนติบัณฑิตยสภา. [ออน-ไลน์]. (2552). [ออน-ไลน์]. /แหล่งข้อมูล [http://www.gmwebsite.com/upload/thethaibar.org/file/2.%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%8D.pdf]</ref>