ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทักษิณ ชินวัตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
not necessary
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7516767 สร้างโดย หมวดซาโต้ (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 59:
| death_date =
| death_place =
| party = [[พรรคพลังธรรม]] ([[พ.ศ. 2537]]) <br>[[พรรคไทยรักไทย]] ([[พ.ศ. 2541]])
| spouse = [[คุณหญิง]][[พจมาน ณ ป้อมเพชร]] ([[พ.ศ. 2523–2523]]-2551)
| religion = [[พุทธ]]
|branch =
บรรทัด 69:
}}
 
'''ทักษิณ ชินวัตร''' ({{lang-roman|Thaksin Shinawatra}} เกิด: 26 กรกฎาคม 2492) เป็น[[นายกรัฐมนตรีไทย]]คนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี 2544 ถึง 2549 และเป็นพี่ชายของ[[ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร]] นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 28 เคยเป็นนักธุรกิจ[[โทรคมนาคม]]และ[[การสื่อสาร]] ผู้ก่อตั้ง[[อินทัช โฮลดิ้งส์|กลุ่มบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] บริษัทโทรคมนาคมและการสื่อสารขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย<ref>[http://www.settrade.com/simsImg/news/2010/10004648.zip สรุปงบการเงินรายปี52]</ref> อดีต[[ตำรวจไทย|ข้าราชการตำรวจ]] (ชั้นยศสูงสุดที่ พันตำรวจโท) อดีตเจ้าของและประธาน[[สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตี]] และอดีตที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลกัมพูชา มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ปัจจุบันถือสัญชาติ[[ประเทศมอนเตเนโกร|มอนเตเนโกร]]<ref>{{cite news|title=Montenegro gives Thaksin a passport| publisher=Bangkok Post| date=May 13, 2009 |url=http://www.bangkokpost.com/news/politics/143140/montenegrin-govt-issues-thaksin-passport}}</ref>
 
ปี 2537 ทักษิณเข้าสู่วงการเมืองสังกัด[[พรรคพลังธรรม]] โดยการชักนำของพลตรี [[จำลอง ศรีเมือง]] ต่อมาก่อตั้ง[[พรรคไทยรักไทย]] ในปี 2541 หลัง[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2544|การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544]] ซึ่งพรรคไทยรักไทยได้รับเสียงข้างมากในสภา จึงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยแรก ทักษิณใช้หนี้[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]]ได้ก่อนกำหนดเดิม<ref>''Inside Thailand Review''. [http://thailand.prd.go.th/ebook/review/content.php?chapterID=13 Appendix: Government Annual Report 2003]. สืบค้นเมื่อ 05-03-2010</ref> และดำเนินนโยบายต่าง ๆ เพื่อลดความยากจนในชนบท โดยสามารถลดความยากจนได้ถึงครึ่งหนึ่งภายในสี่ปี<ref name=autogenerated4>{{cite web|url=http://siteresources.worldbank.org/INTTHAILAND/Resources/Economic-Monitor/2005nov-econ-full-report.pdf |title=Microsoft Word – TEM Oct05 Full version_Nov 7,2005 with ABB.doc |format=PDF |date= |accessdate=19 February 2010}}</ref><ref>{{cite news|name= Bridget Welsh |title= Should Thaksin Stay? |publisher= Time |date= 13 March 2006 |url= http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,1172779-3, 00.html | first=Simon | last=Elegant}}</ref> ริเริ่มระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นครั้งแรกของประเทศ<ref>NaRanong, Viroj, Na Ranong, Anchana, Universal Health Care Coverage: Impacts of the 30-Baht Health Care Scheme on the Rural Poor in Thailand, TDRI Quarterly Review, September 2006</ref> ตลอดจนการกวาดล้างยาเสพติด ซึ่งทั้งหมดช่วยให้เขามีความนิยมอย่างสูง<ref>{{cite news|title= Red light district reels as Thais embrace family values |name= Alex Spilius |publisher= Daily Telegraph |date= 8 September 2001 |url= http://www.telegraph.co.uk/news/worldnews/asia/thailand/1339963/Red-light-district-reels-as-Thais-embrace-family-values.html | location=London | first=Alex | last=Spillius | accessdate=25 May 2010}}</ref> ทักษิณเริ่มดำเนินโครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานขนานใหญ่ รวมทั้ง[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] หนี้สาธารณะลดลงจากร้อยละ 57 ของจีดีพีในเดือนมกราคม 2544 เหลือร้อยละ 41 ในเดือนกันยายน 2549<ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/breakingnews/read.php?newsid=30019150 Public debt end-Sept falls to 41.28% of GDP], 17 November 2006</ref><ref>World Bank, [http://siteresources.worldbank.org/INTTHAILAND/Resources/Economic-Monitor/2003oct.pdf Thailand Economic Monitor, October 2003]</ref> รวมทั้งระดับ[[การฉ้อราษฎร์บังหลวง]]ลดลง โดย[[ดัชนีภาพลักษณ์คอร์รัปชัน]]ขององค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ เพิ่มขึ้นจาก 3.2 เป็น 3.8 ระหว่างปี 2544 และ 2549<ref>Transparency International, [Corruption Perceptions Index http://www.transparency.org/policy_research/surveys_indices/cpi/2005]</ref> ทักษิณดำรงตำแหน่งจนครบวาระสี่ปี เป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งดำรงตำแหน่งจนครบวาระคนแรก และจาก[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2548|ผลการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548]] ทำให้ทักษิณดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง ด้วยคะแนนเสียงสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์<ref>[http://www.nationmultimedia.com/Election2005/news/news.php?news=02%2F10020506.htm. "Unprecedented 72% turnout for latest poll"] The Nation. February 10, 2005.</ref><ref>Aurel Croissant and Daniel J. Pojar, Jr., [http://www.nps.edu/Academics/Centers/CCC/publications/OnlineJournal/index.html Quo Vadis Thailand? Thai Politics after the 2005 Parliamentary Election], Strategic Insights, Volume IV, Issue 6 (June 2005)</ref>
บรรทัด 115:
หลังจากการประกอบธุรกิจมาหลายประเภท ดร.ทักษิณ ชินวัตรได้ตัดสินใจเข้าสู่ธุรกิจด้านข้อมูลข่าวสารด้วยการก่อตั้งบริษัทชินวัตร คอมพิวเตอร์ จำกัด(เดิมชื่อ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอซีเอสไอ (ICSI) ) ในวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2526 เพื่อประกอบธุรกิจให้เช่าเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมจาก [[IBM]] และต่อมาได้เริ่มธุรกิจวิทยุติดตามตัวยี่ห้อ Phonelink ที่ได้กลายเป็นแท่นกระโดดสู่ธุรกิจ[[โทรคมนาคม]]เต็มตัว
 
ถัดจากนั้นได้ก่อตั้งบริษัทแอดวานซ์ อินโฟ เซอร์วิส จำกัด หรือเอไอเอส ในวันที่ &nbsp; 24 เมษายน พ.ศ. 2529 เพื่อให้บริการ[[โทรศัพท์เคลื่อนที่]]ระบบ 900 MHz หรือระบบเซลลูล่าร์ โดยได้รับสัมปทานจาก[[ทีโอที|องค์การโทรศัพท์]] และยังได้ริเริ่มเป็นผู้ให้บริการโทรทัศน์เคเบิลทีวีแบบบอกรับสมาชิกซึ่งนับเป็นครั้งแรกของประเทศที่มีการให้บริการในลักษณะดังกล่าว โดยจัดตั้งบริษัท อินเตอร์เนชันแนล บรอดคาสติง คอร์ปอเรชันส์ จำกัด (ไอบีซี) เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2532 &nbsp; โดยเริ่มนำเอาช่องข่าวระดับโลกอย่าง [[ซีเอ็นเอ็น|CNN]] เข้ามาให้ชมได้เป็นครั้งแรก และกลายเป็นช่องทางรับชมข่าวสารที่สำคัญระดับโลกและเหตุการณ์สำคัญในเมืองไทยหลายเหตุการณ์ในเวลาต่อมา &nbsp;
 
ต่อจากนั้นด้วยความเชื่อมั่นในวิสัยทัศน์ว่าการสื่อสารโทรคมนาคมจะต้องเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน หรือ “สื่อสารกันได้ใต้ฟ้าเดียวกัน” ที่คาดการณ์ว่าการสื่อสารทั้งภาพและเสียงแบบสองทาง โดยไม่มีข้อจำกัดด้านระยะทาง จึงได้ลงทุนครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่งนั่นคือ การเข้าสู่ธุรกิจดาวเทียมสื่อสาร โดยเวลานั้นได้จัดตั้งบริษัท ชินวัตรแซทเทลไลท์ จำกัด ขึ้นในวันที่ &nbsp;11 &nbsp;กันยายน พ.ศ. 2534 &nbsp; ด้วยการเข้าประมูลสัมปทานเพื่อทำธุรกิจ[[ดาวเทียมสื่อสาร]]ของประเทศกับทาง[[กระทรวงคมนาคม (ประเทศไทย)|กระทรวงคมนาคม]] (ปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงคู่สัญญาเป็น[[กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม|กระทรวงไอซีที]]) ซึ่งสามารถชนะการประมูลในที่สุด สัญญาสัมปทานมีอายุ 30 ปี ในการนี้ [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|รัชกาลที่ 9]] โปรดเกล้าฯ &nbsp; พระราชทานนามดาวเทียมสื่อสารแห่งชาติดวงแรกอย่างเป็นทางการว่า ”[[ดาวเทียมไทยคม|ไทยคม]]” (“THAICOM”) มาจากคำว่า Thai Communications หรือ ไทยคมนาคม เพื่อเป็นสัญญลักษณ์การเชื่อมโยงประเทศไทยกับเทคโนโลยีสื่อสารสมัยใหม่
 
หลังจากความสำเร็จในการประกอบธุรกิจโทรคมนาคม ดร.ทักษิณ ชินวัตรได้ตัดสินใจนำบริษัทในกลุ่มชินวัตรเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในระหว่างปี 2533 – 2537 อาทิ
บรรทัด 125:
บริษัท แอดวานซ์ อินโฟ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2534
 
บริษัท ชินวัตร แซทเทลไลท์ จำกัด (มหาชน) จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่ &nbsp; 18 มกราคม 2537 &nbsp;
 
=== เข้าสู่การเมือง ===