ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าแม่วัดดุสิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
 
แม้สมเด็จพระนารายณ์ทรงใช้คำตรัสเรียกว่า "เจ้าแม่วัดดุสิต" คือเป็นนามโดยตำแหน่ง ตามธรรมเนียมนิยมแต่ก่อนจะไม่นิยมเรียกพระนามผู้เป็นเจ้ากันตรง ๆ อย่างไรก็ดี อาจเป็นไปได้แต่เพียงว่า สมเด็จพระนารายณ์ตรัสเรียกให้เกียรติเสมอด้วย "เจ้า" เนื่องจากหลักฐานตั้งแต่รัชกาลที่ 4 ขึ้นไป คือ จดหมายเหตุชาวต่างประเทศ หรือพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับต่าง ๆ ไม่ได้กล่าวถึงที่มาที่ไปของเจ้าแม่วัดดุสิตรวมไปถึง "ความเป็นเจ้า" ของท่านแม้แต่น้อย
 
ด้วยความที่เป็นพระนมสมเด็จพระนารายณ์ บุตรชายทั้งสองจึงเป็นสหายสนิทและเป็นที่โปรดปราน ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าพระยาพระคลังทั้ง 2 คน มีเหตุการณ์ครั้งหนึ่งที่ หลวงสรศักดิ์ (ต่อมาคือ สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือ[[พระเจ้าเสือ]]) ขัดแย้งกับออกญาวิไชเยนทร์ ([[คอนสแตนติน ฟอลคอน]]) เพราะได้ทำการสึกพระภิกษุและสามเณรจำนวนมากออกไปทำราชการ จนเกิดการชกต่อย หลวงสรศักดิ์เกรงจะถูกลงพระราชอาญา จึงขอร้องให้เจ้าแม่ดุสิตช่วยเหลือ ซึ่งพระองค์ก็พระราชทานอภัยโทษให้ ต่อมาแม่วัดดุสิตได้รับการสถาปนาเป็นกรมพระเทพามาตย์<ref>[http://www.royin.go.th/?knowledges=%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%94%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%95-%E0%B9%93-%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%84 เจ้าแม่วัดดุสิต]</ref>
 
== อ้างอิง ==