ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tktoo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kjeksdnfewuh (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
 
'''มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี''' ([[อังกฤษ]]; Suranaree University of Technology) เป็น[[มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ]]แห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดนครราชสีมา]] ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ [[27 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2533]] โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ขึ้นเป็น [[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี]] ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 [[สถาบันสมทบ]] โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไทย
 
== ประวัติ ==
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาจาก[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] ที่ 2.88 จากคะแนนเต็ม 3 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก และได่รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก [[สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา]] ในกลุ่มการผลิตบัณฑิตและวิจัยในรอบการประเมินที่ 2 เท่ากับ 4.76 จากคะแนนเต็ม 5 อยู่ในระดับดีมาก
* ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[27 กรกฎาคม]][[พ.ศ. 2533]] และได้รับนักศึกษารุ่นแรกปี [[พ.ศ. 2536]]<ref>[http://www.sut.ac.th/plandiv/SUTHistory/ ประวัติความเป็นมา มทส]</ref>
* มหาวิทยาลัยกลุ่มดีเลิศด้านการวิจัย และกลุ่มดีเด่นด้านการเรียนการสอน จากการจัดอันดับโดย สกอ.ในปี [[พ.ศ. 2551]]
 
ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 รัฐบาลมีนโยบายกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคและชนบทให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นใน [[พ.ศ. 2527]]ทบวงมหาวิทยาลัยจึงเสนอให้รัฐบาลจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ในส่วนภูมิภาค 5 แห่ง ได้แก่ภาคเหนือ 1 แห่ง ภาคใต้ 1 แห่ง ภาคตะวันออก 1 แห่ง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 แห่ง ในส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้จัดตั้งวิทยาลัยในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดนครราชสีมา โดยวิทยาลัยที่จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมาให้ใช้ชื่อว่า“ วิทยาลัยสุรนารี ”และเลือกพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมบริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ประมาณ 7,000 ไร่ เป็นที่ตั้ง
 
ต่อมารัฐบาลซึ่งมี[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]]เป็นนายกรัฐมนตรีได้เล็งเห็นความจำเป็นในการเร่งรัดจัดตั้งมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นในส่วนภูมิภาค เพื่อให้มีศักยภาพและความพร้อมที่จะสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศในภูมิภาคต่างๆ ดังนั้นคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2531 จึงมีมติให้ยกฐานะวิทยาลัยในภูมิภาคทั้ง 5 แห่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศพร้อมกันนี้ได้อนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสุรนารีโดยมีปลัดทบวงมหาวิทยาลัย (ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน) เป็นประธานคณะกรรมการฯ ได้จัดทำโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเสนอต่อรัฐบาล พร้อมทั้งเสนอร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่อสภาผู้แทนราษฎรในสมัยประชุม[[พ.ศ. 2532]]
 
เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2533]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติดังกล่าว และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2533 ให้ยกฐานะ "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]  ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและถือเอาวันที่ 27 กรกฎาคม 2533 เป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยในช่วงเดือนกรกฎาคม 2533 - พฤษภาคม 2536 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาที่ทำการโดยจัดจ้างก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้างและจัดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2533 อาคารและสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่แล้วเสร็จทันการเปิดดำเนินการรับนักศึกษาในเดือนพฤษภาคมโดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้านเป็นอธิการบดีผู้ก่อตั้ง
 
ในปี พ.ศ. 2549 ได้มีการจัด[[อันดับสถาบันอุดมศึกษาโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับที่ 3 ด้านการวิจัย (ดีเลิศ) และ อันดับที่ 7 ด้านการเรียนการสอน (ดีเยี่ยม) ของประเทศไทย
เส้น 33 ⟶ 41:
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นต้นแบบของการจัดการสหกิจศึกษา (Cooperative Education) ซึ่งจัดให้นักศึกษาได้มีโอกาสไปปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการเป็นเวลาอย่างน้อยหนึ่งภาคการศึกษา ผลการดำเนินงานพบว่าประสบความสำเร็จอย่างสูง ช่วยให้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยมีอัตราการได้งานทำสูงที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ และในปี พ.ศ. 2555 มหาวิทยาลัยได้รับเลือกจากคณะกรรมการสมาคมสหกิจศึกษาโลกให้เป็นสำนักงานสำนักงานสหกิจศึกษาภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
 
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีได้รับการประเมินคุณภาพการศึกษาจาก[[สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา]] ที่ 2.88 จากคะแนนเต็ม 3 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก และได่รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก [[สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา]] ในกลุ่มการผลิตบัณฑิตและวิจัยในรอบการประเมินที่ 2 เท่ากับ 4.76 จากคะแนนเต็ม 5 อยู่ในระดับดีมาก
== ประวัติ ==
* ก่อตั้งเมื่อวันที่ [[27 กรกฎาคม]][[พ.ศ. 2533]] และได้รับนักศึกษารุ่นแรกปี [[พ.ศ. 2536]]<ref>[http://www.sut.ac.th/plandiv/SUTHistory/ ประวัติความเป็นมา มทส]</ref>
* มหาวิทยาลัยกลุ่มดีเลิศด้านการวิจัย และกลุ่มดีเด่นด้านการเรียนการสอน จากการจัดอันดับโดย สกอ.ในปี [[พ.ศ. 2551]]
 
ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 รัฐบาลมีนโยบายกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาไปสู่ภูมิภาคและชนบทให้มากยิ่งขึ้น ดังนั้นใน [[พ.ศ. 2527]]ทบวงมหาวิทยาลัยจึงเสนอให้รัฐบาลจัดตั้งมหาวิทยาลัยใหม่ในส่วนภูมิภาค 5 แห่ง ได้แก่ภาคเหนือ 1 แห่ง ภาคใต้ 1 แห่ง ภาคตะวันออก 1 แห่ง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 แห่ง ในส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้จัดตั้งวิทยาลัยในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ขึ้นที่จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดนครราชสีมา โดยวิทยาลัยที่จัดตั้งขึ้นที่จังหวัดนครราชสีมาให้ใช้ชื่อว่า“ วิทยาลัยสุรนารี ”และเลือกพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมบริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ประมาณ 7,000 ไร่ เป็นที่ตั้ง
 
ต่อมารัฐบาลซึ่งมี[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]]เป็นนายกรัฐมนตรีได้เล็งเห็นความจำเป็นในการเร่งรัดจัดตั้งมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้นในส่วนภูมิภาค เพื่อให้มีศักยภาพและความพร้อมที่จะสนองความต้องการของการพัฒนาประเทศในภูมิภาคต่างๆ ดังนั้นคณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2531 จึงมีมติให้ยกฐานะวิทยาลัยในภูมิภาคทั้ง 5 แห่งเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศพร้อมกันนี้ได้อนุมัติให้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสุรนารีโดยมีปลัดทบวงมหาวิทยาลัย (ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน) เป็นประธานคณะกรรมการฯ ได้จัดทำโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเสนอต่อรัฐบาล พร้อมทั้งเสนอร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งมหาวิทยาลัยต่อสภาผู้แทนราษฎรในสมัยประชุม[[พ.ศ. 2532]]
 
เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2533]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติดังกล่าว และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม 2533 ให้ยกฐานะ "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัด[[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]]  ขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและถือเอาวันที่ 27 กรกฎาคม 2533 เป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัยในช่วงเดือนกรกฎาคม 2533 - พฤษภาคม 2536 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาที่ทำการโดยจัดจ้างก่อสร้างอาคารและสิ่งก่อสร้างและจัดให้มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2533 อาคารและสิ่งก่อสร้างส่วนใหญ่แล้วเสร็จทันการเปิดดำเนินการรับนักศึกษาในเดือนพฤษภาคมโดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้านเป็นอธิการบดีผู้ก่อตั้ง
 
<center>
<gallery>
ไฟล์:Bunnasarn Building.jpg|อาคารบรรณสาร
ไฟล์:Suranaree University Hospital.jpg|โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
ไฟล์:B2 Building.jpg|อาคารเรียนรวม 2
ไฟล์:SUT Tree Tunnel.jpg|อุโมงค์ต้นไม้ภายในมหาวิทยาลัย
ไฟล์:Vicharkarn Building.jpg|อาคารวิชาการ
ไฟล์:Suranapa Tower View.jpg|หอสุรนภา
</gallery>
</center>
 
== สัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ==
 
=== ตราประจำมหาวิทยาลัย ===
[[ไฟล์:SUTSut Originallogo Thai.svg|center|150180px|ตราประจำมหาวิทยาลัย]]
[[ไฟล์:Peep Thong Flower with Leaf.jpg|thumb|ดอกปีบทอง]]
* ภาพ[[ท้าวสุรนารี]] สื่อความหมายถึงปรัชญาและภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยเน้นความเคารพ และศรัทธาต่อท้าวสุรนารีในฐานะวีรสตรีแห่งชาติ
* ภาพเส้นโค้งงอนหงายขนาบ 2 ข้างของภาพข้างละ 4 เส้นเกยและเชื่อมต่อกันเสมือนหนึ่งกระเบื้องมุงหลังคาคร่อมภาพ สื่อความหมายถึงความสำเร็จทางเทคโนโลยีที่ต่อเนื่องกันและความเจริญก้าวหน้าที่ไม่มีที่สิ้นสุด
เส้น 64 ⟶ 52:
 
=== ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ===
[[ไฟล์:PeepFlora Thong Flower with LeafKaslongkam.jpg|thumb130px|ดอกปีบทอง]]
* [[ต้นปีบทอง]] (''Radermachera ignea (Kurz) Steenis'') เป็นไม้ยืนต้นที่ปลูกง่าย ทนทาน โตเร็ว มีทรงพุ่มกว้าง มีดอกสีแสด ซึ่งเป็นสีประจำหาวิทยาลัยสื่อความหมายถึงความเรียบง่าย ความแข็งแกร่ง ความรุดหน้า และความร่มเย็น