ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรมันคาทอลิกในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:The king and the Pope.jpg|thumb|right|200px|[[สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2]] ขณะเข้าเฝ้า[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ระหว่างเสด็จเยือน[[ประเทศไทย]]]]
'''คริสตจักรโรมันคาทอลิกในประเทศไทย''' หรือที่ชาวคาทอลิกเรียกโดยย่อว่า '''พระศาสนจักรในประเทศไทย''' เป็นประชาคมของ[[คริสต์ศาสนิกชน]]นิกาย[[โรมันคาทอลิก]] มีการปกครองตนเองภายใต้การควบคุมของ[[สันตะสำนัก]]<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 468</ref> ตามสถิติคาทอลิกในประเทศไทย พ.ศ. 2560 มีชาวคาทอลิกอยู่ราว 380379,374975 คน และมีโบสถ์คาทอลิก 515517 แห่ง<ref name="ปฏิทิน25602561"/>
 
== ประวัติการเผยแพร่ ==
บรรทัด 15:
 
ปัญหาข้างต้นทำให้สันตะสำนักหาทางแก้ปัญหาโดยตั้ง[[สมณะกระทรวงการเผยแพร่ความเชื่อ]] (Sacred Congregation for the Propagation of the Faith) หรือ '''โปรปากันดา ฟีเด''' (Propaganda Fide) เพื่อให้การเผยแพร่ศาสนาและปกครองคริสจักรที่สิทธิ์ปาโดรอาโดยังไปไม่ถึงได้ขึ้นกับสมณะกระทรวงนี้แต่เพียงแห่งเดียวโดยตรง และเมื่อทราบว่าคริสตจักรทาง[[ตะวันออกไกล]]ต้องการให้มีผู้แทนพระสันตะปาปาไปปกครอง [[สมเด็จพระสันตะปาปาอินโนเซนต์ที่ 10]] จึงแต่งตั้งบาทหลวง 3 ท่านเป็น[[มุขนายกเกียรตินาม]]และ[[ผู้แทนพระสันตะปาปา]]ประมุขมิสซังต่าง ๆ ดังนี้
# [[ฟร็องซัว ปาลูว์]] (Francois Pallu) เป็นมุขนายกเกียรตินามแห่งเฮลีโอโปลิส (Heliopolis) และประมุขมิสซัง[[ตังเกี๋ย]] โดยรวมลาวและห้ามณฑลทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนอยู่ในปกครองด้วย
 
*# [[ฟร็องซัวปีแยร์ ปาลูว์ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต]] (FrancoisPierre PalluLambert de la Motte) เป็นมุขนายกเกียรตินามแห่งเฮลีโอโปลิส[[เบรุต]] (HeliopolisBeirut) และประมุขมิสซัง[[ตังเกี๋ยโคชินไชนา]] โดยรวมลาวและห้ามณฑลทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีนอยู่ในปกครองด้วย
*# [[ปีแยร์อีญัส ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อตกอตอล็องดี]] (PierreIgnace Lambert de la MotteCotolendi) เป็นมุขนายกเกียรตินามแห่งเบรุทเมเตลโลโปลิส (BeirutMetellopolis) และประมุขมิสซัง[[โคชินจีนหนานจิง]] โดยรวมมณฑลทางภาคอีสานของจีนตลอดทั้งเกาหลีอยู่ในปกครองด้วย ต่อมามุขนายกท่านนี้ได้ถึงแก่กรรมเสียในระหว่างทาง
* [[อีญัส กอตอล็องดี]] (Ignace Cotolendi) เป็นมุขนายกเกียรตินามแห่งเมเตลโลโปลิส (Metellopolis) และประมุขมิสซัง[[หนานจิง]] โดยรวมมณฑลทางภาคอีสานของจีนตลอดทั้งเกาหลีอยู่ในปกครองด้วย ต่อมามุขนายกท่านนี้ได้ถึงแก่กรรมเสียในระหว่างทาง
 
มุขนายกทั้งสามได้ตั้ง[[คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส]]ขึ้นเพื่อฝึกหัดบาทหลวงที่จะไปเป็นมิชชันนารีในภูมิภาค[[ตะวันออกไกล]] เมื่อมิชชันนารีเหล่านี้เดินทางมาถึงก็ได้ข่าวว่ากำลังมี[[การเบียนเบียนคริสต์ศาสนิกชน]]ในจีนและญวน คณะทั้งหมดจึงตัดสินใจพำนักที่กรุงศรีอยุธยาเพราะทราบว่ากษัตริย์ไทย (ขณะนั้นคือ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]) มีไมตรีกับชาติตะวันตก จากนั้นจึงดำเนินการเผยแพร่ศาสนาทันที
เส้น 26 ⟶ 25:
* 2.พิมพ์คำสอนเผยแพร่
* 3.ตั้ง[[เซมินารี]] เพื่อฝึกหัดชายท้องถิ่นที่ศรัทธา อ่านภาษาลาตินได้ เป็น[[บาทหลวง]]
การเผยแพร่ศาสนาดังกล่าวได้ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับมิชชันนารีฝ่ายปาโดรอาโด มุขนายก พระคุณเจ้าล็องแบร์จึงส่งบาทหลวง ฌ็อง เดอ บูร์ช ไปแจ้งปัญหาแก่สันตะสำนัก ในที่สุดโรมจึงตั้ง'''มิสซังสยาม'''ขึ้นในปี พ.ศ. 2212 (ค.ศ. 1669) ให้อยู่ภายใต้การปกครองของประมุขมิสซังซึ่งพระคุณเจ้าทั้งสองเลือกเอง จึงถือเป็นการสิ้นสุดยุคปาโดรอาโด
 
=== ยุคเขตผู้แทนพระสันตะปาปา ===
[[ไฟล์:Mgr Lambert de la Motte.jpg|200px|thumb|[[มุขนายก]] พระคุณเจ้า[[ปีแยร์ ล็องแบร์ เดอ ลา ม็อต]] มุขนายกคาทอลิกองค์แรกที่เดินทางมาถึงสยาม ]]
'''ยุคโปรปากันดาฟีเด''' หรือ '''ยุคเขตผู้แทนพระสันตะปาปา'''ครอบคลุมช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2212 - 2508 (ค.ศ. 1669 – 1965)
 
เมื่อสันตะสำนักตั้งมิสซังสยามเป็น[[เขตผู้แทนพระสันตะปาปา]]แล้ว ก็ให้มุขนายกทั้งสองท่านอภิเษกบาทหลวงคนหนึ่งขึ้นเป็น'''ผู้แทนพระสันตะปาปาประจำกรุงสยาม''' (Vicar apostolic of Siam) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า'''ประมุขมิสซังสยาม''' ทั้งสองตัดสินใจเลือกบาทหลวง[[หลุยส์ ลาโน]] (Louis Laneau) ซึ่งเป็นมิชชันนารีในคณะของมุขนายกปาลูว์เป็นประมุขมิสซังสยามคนแรก นับจากนั้นมาก็มีประมุขมิสซังสืบงานต่อมาดังนี้
* 4.# [[เรอเนหลุยส์ แปร์รอสลาโน]] (René-Marie-JosephLouis PerrosLaneau) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 24522216 - 24902239 (ค.ศ. 19091673-19471696)
 
* 1.# [[หลุยส์ ลาโนช็องปียง เดอ ซีเซ]] (Louis LaneauChampion de Cicé) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 22162243 - 22392270 (ค.ศ. 16731700-16961727)
* 2.# [[หลุยส์ฌ็อง-ฌัก ช็องปียงเตสซีเย เดอ ซีเซเกราแล]] (LouisJean-Jacques ChampionTessier de CicéQuéralay) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 22432270 - 22702279 (ค.ศ. 17001727-17271736)
* 3.# [[ฌ็อง-ฌัก เตสซีเย เดอ เกราแลลอลีแยร์-ปุยกงตา]] (Jean-Jacques Tessier de QuéralayLolière-Puycontat) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 22702281 - 22792298 (ค.ศ. 17271738-17361755)
* 4.# [[ฌ็องปีแยร์ เดอ ลอลีแยร์-ปุยกงตาบรีโก]] (JeanPierre de Lolière-PuycontatBrigot) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 22812298 - 22982310 (ค.ศ. 1738-1755-1767)
* 5.# [[ปีแยร์โอลีวีเย-ซีมง บรีโกเลอ บง]] (PierreOlivier-Simon BrigotLe Bon) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 22982311 - 23102323 (ค.ศ. 17551768-17671780)
* 6.# [[โอลีวีเยโฌแซ็ฟ-ซีมงหลุยส์ เลอ บงกูเด]] (OlivierJoseph-SimonLouis Le BonCoudé) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 23112325 - 23232328 (ค.ศ. 17681782-17801785)
* 7.# [[โฌแซ็ฟอาร์โน-หลุยส์อ็องตวน กูเดการ์โนล]] (JosephArnaud-LouisAntoine CoudéGarnault) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 23252329 - 23282353 (ค.ศ. 17821786-17851810)
* 8.# [[อาร์โนแอสพรี-อ็องตวนมารี-โฌแซ็ฟ การ์โนลโฟลร็อง]] (ArnaudEsprit-Marie-AntoineJoseph GarnaultFlorens) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 23292354 - 23532377 (ค.ศ. 17861811-18101834)
* 9.# [[แอสพรีฌ็อง-มารีปอล-โฌแซ็ฟอีแลร์-มีแชล โฟลร็องกูร์เวอซี]] (EspritJean-MariePaul-JosephHilaire-Michel FlorensCourvezy) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 23542377 - 23772384 (ค.ศ. 1811-1834-1841)
* 10. [[ฌ็อง-ปอล-อีแลร์-มีแชล กูร์เวอซี]] (Jean-Paul-Hilaire-Michel Courvezy) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 2377 - 2384 (ค.ศ. 1834-1841)
 
ในปี พ.ศ. 2384(ค.ศ. 1841) สันตะสำนักได้แบ่งมิสซังสยามออกเป็น 2 เขตผู้แทนพระสันตะปาปา คือ'''มิสซังสยามตะวันออก'''ซึ่งครอบคลุมพื้นที่อาณาจักรสยามและลาว และ'''มิสซังสยามตะวันตก'''ซึ่งครอบคลุมพื้นที่[[เกาะสุมาตรา]] แหลม[[มลายู]] และ[[พม่า]]ใต้ โดยมุขนายกกูร์เวอซี ย้ายไปเป็นประมุขมิสซังสยามตะวันตก ประจำอยู่ที่สิงคโปร์ ส่วนมิสซังสยามตะวันออกได้อภิเษกบาทหลวงปาลกัว อดีต[[มุขนายกรอง]]ประมุขมิสซัง ขึ้นเป็นประมุขมิสซังสยามตะวันตกแทนสืบมา เขตผู้แทนพระสันตะปาปาประจำมิสซังสยามตะวันออกมีลำดับประมุขดังนี้
* 10.# [[ฌ็อง-ปอล-อีแลร์-มีแชลบาติสต์ กูร์เวอซีปาลกัว]] (Jean-Paul-Hilaire-MichelBaptiste CourvezyPallegoix) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 23772384 - 23842405 (ค.ศ. 1834-1841-1862)
 
* 1.# [[ฌ็องแฟร์ดีน็อง-บาติสต์แอเม-โอกุสแต็ง-โฌแซ็ฟ ปาลกัวดูว์ป็อง]] (JeanFerdinand-Aimé-Augustin-BaptisteJoseph PallegoixDupond) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 23842407 - 24052415 (ค.ศ. 18411864-18621872)
* 2.# [[แฟร์ดีน็อง-แอเม-โอกุสแต็ง-โฌแซ็ฟฌอง ดูว์ป็องหลุยส์ เวย์]] (Ferdinand-Aimé-AugustinJean-JosephLouis DupondVey) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 24072418 - 24152452 (ค.ศ. 18641875-18721909)
* 3.# [[ฌอง หลุยส์เรอเน เวย์แปร์รอส]] (JeanRené-LouisMarie-Joseph VeyPerros) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 24182452 - 24522490 (ค.ศ. 1875-1909-1947)
* 4. [[เรอเน แปร์รอส]] (René-Marie-Joseph Perros) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 2452 - 2490 (ค.ศ. 1909-1947)
 
ในปี ค.ศ. 1924 มิสซังสยามตะวันออกถูกเปลี่ยนชื่อเป็น'''มิสซังกรุงเทพฯ'''<ref name="Archdiocese of Bangkok">[http://www.catholic-hierarchy.org/diocese/dbank.html Archdiocese of Bangkok]. The Hierarchy of the Catholic Church. เรียกข้อมูลวันที่ 19 ก.พ. พ.ศ. 2554.</ref> มุขนายกแปโรยังรั้งตำแหน่งประมุขมิสซัง และมีประมุขมิสซังกรุงเทพฯ สืบทอดต่อมาอีกดังนี้
 
* 5. [[หลุยส์-โอกุส-เกลม็อง-โชแร็ง]] (Louis-August-Clément Chorin) ปกครองมิสซังตั้งแต่ พ.ศ. 2490 - 2508 (ค.ศ. 1947-1965)
* 6. ยอแซฟ [[ยวง นิตโย]] ปกครองมิสซังตั้งแต่ 29 เม.ย. – 18 ธ.ค. พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965)
เส้น 68 ⟶ 64:
[[ไฟล์:Michael Michai Kitbunchu.gif|thumb|[[พระคาร์ดินัล]]ไมเกิ้ล [[มีชัย กิจบุญชู]] พระคาร์ดินัลองค์แรกของประเทศไทย]]
เมื่อเห็นว่ากิจการของคริสตจักรในประเทศไทยก้าวหน้าเป็นอย่างดี [[สมเด็จพระสันตะปาปาปอลที่ 6]] ก็ได้ยกสถานะมิสซังทั้งหลายในประเทศไทยขึ้นเป็น'''[[มุขมณฑล]]''' (diocese) เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) โดยแบ่งเป็นสอง[[ภาคคริสตจักร]] (ecclesiastical province)<ref>Luc Colla, ''พระคริสตเจ้าและพระศาสนจักรของพระองค์'', หน้า 50 – 1</ref> คือ
*# '''ภาคกรุงเทพฯ''' ประกอบด้วย[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]]ซึ่งเป็น[[อัครมุขมณฑล]] (archdiocese) และ[[เขตมิสซังราชบุรี]] [[เขตมิสซังจันทบุรี]] [[เขตมิสซังเชียงใหม่]]เป็น[[มุขมณฑล]] (diocese)
*# '''ภาคท่าแร่-หนองแสง''' ประกอบด้วย[[เขตมิสซังท่าแร่-หนองแสง]]ซึ่งเป็นอัครมุขมณฑล (archdiocese) ส่วน[[เขตมิสซังอุบลราชธานี]] [[เขตมิสซังนครราชสีมา]] และ[[เขตมิสซังอุดรธานี]]เป็นมุขมณฑล (diocese)
 
ต่อมาได้มีการแยกพื้นที่ทางตอนเหนือของเขตมิสซังกรุงเทพฯ ออกไปกับบางส่วนของเขตมิสซังเชียงใหม่ ตั้งเป็น[[เขตมิสซังนครสวรรค์]]ในวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) และแยกภาคใต้ออกจาก[[เขตมิสซังราชบุรี]]เพื่อตั้งเป็น[[เขตมิสซังสุราษฎร์ธานี]]ในวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2512 ทั้งสองเขตมิสซังใหม่ยังคงรวมอยู่ในภาคกรุงเทพฯ คริสตจักรคาทอลิกในประเทศไทยจึงประกอบด้วย 10 เขตมิสซังซึ่งล้วนแต่เป็นมุขมณฑลดังเช่นปัจจุบัน
เส้น 97 ⟶ 93:
|- style="background:#cccccc"
|-
! '''ข้อมูล''' || '''พ.ศ. 2555'''<ref name="ปฏิทิน2556">''ปฏิทินคาทอลิก: Catholic Calendar 2556/2013'', กรุงเทพ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, หน้า 3</ref> || '''พ.ศ. 2556'''<ref name="ปฏิทิน2557">''ปฏิทินคาทอลิก: Catholic Calendar 2557/2014'', กรุงเทพ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, หน้า 3</ref> || '''พ.ศ. 2557'''<ref name="ปฏิทิน2558">''ปฏิทินคาทอลิก: Catholic Calendar 2558/2015'', กรุงเทพ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, หน้า 3</ref> || '''พ.ศ. 2559'''<ref name="ปฏิทิน2559">''ปฏิทินคาทอลิก: Catholic Calendar 2559/2016'', กรุงเทพ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, หน้า 3</ref> || '''พ.ศ. 2560'''<ref name="ปฏิทิน2560">''ปฏิทินคาทอลิก: Catholic Calendar 2560/2017'', กรุงเทพ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, หน้า 3</ref> || '''พ.ศ. 2561'''<ref name="ปฏิทิน25602561">''ปฏิทินคาทอลิก: Catholic Calendar 2018/2561'', กรุงเทพ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, หน้า 3</ref>
|-
| ชาวคาทอลิก || 363,463 || 367,978 || 369,636 || 379,347 || 380,374 || 379,975
เส้น 115 ⟶ 111:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย]]
* [[โรมันคาทอลิก]]
* [[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]]
 
{{คาทอลิกไทย}}